ค้นหางานวิจัย

Keyword :
นักวิจัย :
ปีงบประมาณ :
งานวิจัยตามกลุ่มวัตถุดิบ
งานวิจัยตามผลิตภัณฑ์
งานวิจัยตาม Supply Chain


ลำดับ ปีงบประมาณ ชื่อโครงการ หัวหน้าโครงการ ดูรายละเอียด บทคัดย่อ
1. 2566 การพัฒนาชุดเพาะเห็ดสำเร็จรูปจากของเหลือทิ้งโรงงานปาล์มน้ำมัน ดูรายละเอียด
2. 2566 - ดูรายละเอียด
3. 2566 การศึกษาการสื่อสารระหว่างกันในเชิงเมแทบอลิกระหว่างอนุพันธ์ของโคลีนและสารค้นพบใหม่ในกลุ่ม chalcone จากพืชที่มีฤทธิ์ในการกระตุ้นการทำงานของโปรตีนเอเอ็มพีเค เพื่อใช้ในการป้องกันภาวะไตเสื่อมจากโรคเบาหวาน ดูรายละเอียด
4. 2566 การเตรียมและการศึกษาสมบัติของคาร์บอกซีเมทิลนาโนเซลลูโลสจากเส้นใยที่ไม่ใช่ไม้และไฮโดรเจลคอมโพสิตในรูปแบบชีวการแพทย์ ดูรายละเอียด
5. 2566 การถ่ายทอดกระบวนการผลิตกล้วยตาก น้ำเสาวรสบรรจุขวดและความรู้เรื่อง Good Hygiene Practices (GHP) สำหรับศูนย์เยาวชนเพื่อพัฒนาชีวิตเชียงคำ ดูรายละเอียด
6. 2566 การพัฒนากระบวนการผลิตลำไยอบกึ่งแห้งผลิตจากวัตถุดิบลำไยแช่แข็ง ดูรายละเอียด
7. 2566 การพัฒนาเส้นสำหรับการพิมพ์สามมิติจากพลาสติกชีวภาพผสมกากมันสำปะหลัง ดูรายละเอียด
8. 2566 การผลิตและการศึกษาลักษณะเฉพาะของแอลคาไลน์เคราติเนสที่ทนอุณหภูมิสูงจากแบคทีเรียและการประยุกต์ในการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสทจากขนไก่ ดูรายละเอียด
9. 2566 การผลิตสารเอกซ์โซพอลิแซคคาร์ไรด์มูลค่าสูงด้วยจุลินทรีย์ จากชีวมวลราคาถูก และแนวทางการดัดแปลงและการประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
10. 2566 ประสิทธิภาพและกลไกการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการความดันสูงเพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับไนซินต่อเซลล์ปกติและสปอร์ของแบคทีเรียในระบบอาหารจำลองที่มีพืชเป็นองค์ประกอบหลัก ดูรายละเอียด
11. 2566 การใช้ประโยชน์จากไข่น้ำ (Wolffia Globosa) เพื่อเป็นแหล่งโปรตีนและเปปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพแหล่งใหม่สำหรับการบริโภค ดูรายละเอียด
12. 2566 การยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาของน้ำมะพร้าวอ่อนพร้อมดื่มโดยเทคนิคสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ ดูรายละเอียด
13. 2566 การพัฒนาตัวบ่งชี้ก๊าซออกซิเจนจากสารสกัดจากต้นฮ่อมสำหรับบรรจุภัณฑ์อาหารอัจฉริยะ ดูรายละเอียด
14. 2566 กรีนไฟเบอร์คอมโพสิตทดแทนเหล็กเส้น ดูรายละเอียด
15. 2564 การพัฒนาอินดิเคเตอร์บ่งชี้การเน่าเสียของผักสลัดตัดแต่งพร้อมบริโภคเพื่อใช้ติดตามความสดและความปลอดภัยในสายโซ่อุปาทาน ดูรายละเอียด
16. 2564 การหากระบวนการดีที่สุดในการผลิตสารเคมีเพิ่มมูลค่าจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
17. 2564 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
18. 2564 การผลิตสารเอกซ์โซพอลิแซคคาร์ไรด์มูลค่าสูงด้วยจุลินทรีย์ จากชีวมวลราคาถูก และแนวทางการดัดแปลงและการประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
19. 2564 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
20. 2564 ผลการเสริมฤทธิ์ระหว่างสารสกัดชาเขียวและสารสกัดขมิ้นชันต่อการต้านมะเร็งและการประยุกต์ใช้ในเครื่องดื่มเข้มข้นสำหรับผู้สูงวัย ดูรายละเอียด
21. 2564 Development of functional drink from Thai colored rice in order to anti-aging for elderly person ดูรายละเอียด
22. 2563 การพัฒนาอินดิเคเตอร์บ่งชี้การเน่าเสียของผักสลัดตัดแต่งพร้อมบริโภคเพื่อใช้ติดตามความสดและความปลอดภัยในสายโซ่อุปาทาน ดูรายละเอียด
23. 2563 การพัฒนาเส้นก๋วยเตี๋ยวลดค่าดัชนีน้ำตาลและการใช้ไคโตซานเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ดูรายละเอียด
24. 2563 การสกัด จำแนกลักษะ และการใข้ประโยชน์จากไคโตซานจากเปลือกกั้งตั๊กแตนเป็นฟิล์มคอมโพสิตต้านจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จากไคโตซาน-เอกาโรส ดูรายละเอียด
25. 2563 การหากระบวนการดีที่สุดในการผลิตสารเคมีเพิ่มมูลค่าจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
26. 2563 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
27. 2563 การผลิตสารเอกซ์โซพอลิแซคคาร์ไรด์มูลค่าสูงด้วยจุลินทรีย์ จากชีวมวลราคาถูก และแนวทางการดัดแปลงและการประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
28. 2563 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินฟราเรดในข้าวพันธุ์ กข 43 ให้มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวสำเร็จรูปสำหรับผู้ควบคุมน้ำหนัก ดูรายละเอียด
29. 2563 Development of functional drink from Thai colored rice in order to anti-aging for elderly person ดูรายละเอียด
30. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แคบหมูลดไขมันพร้อมรับประทานโดยใช้ไมโครเวฟสุญญากาศ ดูรายละเอียด
31. 2563 การพัฒนาสารให้สีธรรมชาติจากดอกอัญชันด้วยเทคนิคโคพิกเมนต์เทชัน ดูรายละเอียด
32. 2563 ผลการเสริมฤทธิ์ระหว่างสารสกัดชาเขียวและสารสกัดขมิ้นชันต่อการต้านมะเร็งและการประยุกต์ใช้ในเครื่องดื่มเข้มข้นสำหรับผู้สูงวัย ดูรายละเอียด
33. 2563 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
34. 2563 กลุ่มวิจัยผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงจากข้าวไทยเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
35. 2563 การสังเคราะห์คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากกาบมะพร้าวอ่อนและแก่ที่มีคุณสมบัติเป็นวัตถุเจือปนอาหารในการลดการอมน้ำมันของทอดมันกุ้ง ดูรายละเอียด
36. 2563 การผลิตแคลเซียมจากเปลือกหอยมุกด้วยกระบวนการทางความร้อนและการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบปลาเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ดูรายละเอียด
37. 2563 กลุ่มวิจัยอุตสาหกรรมเกษตรบีซีจี ดูรายละเอียด
38. 2563 พอลิเมอร์เบลนด์ที่สลายตัวได้ทางชีวภาพ โดยมีพอลิแลกติก แอซิด และเทอร์โมพลาสติกพอลิยูรีเทนลีลาสโตเมอร์เป็นองค์ประกอบพื้นฐานสำหรับการนำไปใช้ทางด้านบรรจุภัณฑ์ ดูรายละเอียด
39. 2563 ทุนอุดหนุนการวิจัยหลังปริญญาเอก Post-Doctoral 2020 ดูรายละเอียด
40. 2563 ทุนอุดหนุนการวิจัยหลังปริญญาเอก Post-Doctoral 2020 ดูรายละเอียด
41. 2563 การพัฒนากระบวนการผลิตกาละแมและการยืดอายุการเก็บรักษา ดูรายละเอียด
42. 2563 การพัฒนาเครื่องดื่มโปรตีนชนิดใสที่สกัดจากข้าว ดูรายละเอียด
43. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตพลาสติกเศษเหลือทางการเกษตร ดูรายละเอียด
44. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์นมถั่วแระญี่ปุ่นที่เสริมสารต้านอนุมูลอิสระธรรมชาติจากเปลือกถั่วแระญี่ปุ่น ดูรายละเอียด
45. 2563 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผงหม่าล่าโปรตีนสูงจากจิ้งหรีด ดูรายละเอียด
46. 2563 โครงการย่อย องค์ประกอบทางเคมีและสารออกฤทธิ์ของผลิตภัณฑ์จากใบหม่อน มูลไหม ดูรายละเอียด
47. 2563 การพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะขามหวาน ดูรายละเอียด
48. 2563 นวัตกรรมการพัฒนาเครื่องดื่มเจลให้พลังงานจากตัวอ่อนนางพญาผึ้งผสมเกสรผึ้งจากดอกลำไย ดูรายละเอียด
49. 2563 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์กล้ามเนื้อและการเตรียมผลิตภัณฑ์โปรตีนพืชสำหรับการฟื้นตัวของโปรตีนกล้ามเนื้อในมนุษย์ ดูรายละเอียด
50. 2563 การผลิตและทำบริสุทธิ์รีคอมบิแนนท์ไซลาเนสและการประยุกต์ในการผลิตไซโลโอลิโกแซ็กคาไรด์ ดูรายละเอียด
51. 2563 ผลของการเคลือบกล้วยด้วยไคโตซานผสมวานิลลินและน้ำมันอบเชยต่อการยับยั้งเชื้อ Colletotrichum spp. และ Fusarium spp. และการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของกล้วย ดูรายละเอียด
52. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานแทนน้ำตาลจากหญ้าหวานชนิดเม็ด ดูรายละเอียด
53. 2563 ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปรุงรสหม่าล่าพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
54. 2563 การศึกษาชนิดของเอนไซม์ และสภาวะที่เหมาะสมของเอนไซม์ในการย่อยน้ำมอลต์เพื่อใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไซรัปมอลต์ ดูรายละเอียด
55. 2563 การออกแบบโรงงาน การวางผังการผลิต และการพัฒนากระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะขามหวาน ดูรายละเอียด
56. 2563 การปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสและรสชาติของผลิตภัณฑ์เนื้อเบอร์เกอร์จากเนื้อเทียม ดูรายละเอียด
57. 2563 การพัฒนาวัตถุปลดปล่อยไอระเหยเอทานอลแบบควบคุมเพื่อยืดอายุผลไม้เมืองหนาวตัดแต่งพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
58. 2563 การพัฒนากระบวนการผลิตสันในหมูอบแห้งและเนื้อหมูทอดกรอบสุญญากาศ ดูรายละเอียด
59. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายน้ำผึ้งหมักเพื่อสุขภาพด้วยแบคทีเรียผลิตกรดแลคติก ดูรายละเอียด
60. 2563 เครื่องดื่มนมถั่วขาวสเตอริไลซ์แบบเพิ่มเนื้อสัมผัส ดูรายละเอียด
61. 2563 หน้ากากเฟสชิลด์ทางการแพทย์คุณภาพสูงที่สามารถต้านทางเชื้อไวรัสโคโลนา ดูรายละเอียด
62. 2563 ยางเทอร์โมพลาสติกอีลาสโตเมอร์จากเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช ดูรายละเอียด
63. 2563 การกักเก็บสารสกัดบีตา-แคโรทีนจากสาหร่ายเกลียวทองเพื่อประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ธัญพืชอัดแท่ง ดูรายละเอียด
64. 2563 การผลิตไบโอเอทานอลจากกากซังข้าวโพดที่อุดมไปด้วยเซลลูโลสโดยใช้ยีสต์ทนร้อน ดูรายละเอียด
65. 2563 การพัฒนาสารเคลือบไข่จากวัสดุชีวภาพเพื่อการรักษาความสดของไข่ ดูรายละเอียด
66. 2563 การยับยั้งเอนไซม์และการรักษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในรำข้าวมีสีด้วยเทคโนโลยีพลาสมา ดูรายละเอียด
67. 2563 ไฮโดรเจลจากอัลจิเนตที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการประยุกต์ใช้เป็นตัวบ่งชี้ ดูรายละเอียด
68. 2563 โครงการย่อย 1 ภายใต้แผนงานลำไยดำ: การศึกษาองค์ประกอบทางเคมี สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และการพัฒนากระบวนการผลิตลำไยดำ ดูรายละเอียด
69. 2563 โครงการย่อย 2 ภายใต้แผนงานลำไยดำ: การศึกษาเทคนิคการสกัดสารสำคัญ ประสิทธิภาพการออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ความเป็นพิษ และความคงตัวของสารสกัดจากลำไยดำ ดูรายละเอียด
70. 2563 โครงการย่อย 3 ภายใต้แผนงานลำไยดำ: การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่าจากลำไยดำภายใต้แนวคิดการจัดการแบบไม่มีของเสียเหลือทิ้ง ดูรายละเอียด
71. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มโปรตีนไฮโดรไลเสตจากธัญพืชโครงการหลวง ดูรายละเอียด
72. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากควินัว: โยเกิร์ตควินัวเสริมสารสกัดออกฤทธิ์ทางชีวภาพไอโซฟลาโวนอะไกลโคน และควินัวสเปรด ดูรายละเอียด
73. 2563 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากธัญพืชหมักโครงการหลวงด้วยเทคโนโลยีเชื้อบริสุทธิ์ ดูรายละเอียด
74. 2563 การพัฒนาสารสกัดพันธะเชื่อมที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเมล็ดกาแฟเขียว ดูรายละเอียด
75. 2563 การสกัดน้ำมันและเซซามินจากกากงาที่ผ่านกระบวนการบีบอัดแบบสกรูด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่สภาวะสูงกว่าจุดวิกฤติ ดูรายละเอียด
76. 2563 สารประกอบออกฤทธิ์ทางชีวภาพโดยปฏิกิริยาไกลโคซีเลชันจากเนื้อลำไย (Dimocarpus longan) สำหรับเป็นส่วนผสมอาหารเชิงหน้าที่ ดูรายละเอียด
77. 2562 ผลของการคั่วและการทำแห้งแบบไมโครเวฟสุญญากาศต่อปริมาณและคุณภาพของน้ำมันงาดำสกัดด้วยเครื่องบีบอัดสกรูเดี่ยว ดูรายละเอียด
78. 2562 ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคโคลีนและระดับความดันโลหิตในผู้สูงอายุ ในแบบสำรวจข้อมูลด้านสุขภาวะและโภชนาการของประเทศสหรัฐอเมริกา (the National Health and Nutrition Examination Survey) ประจำปี 2011-14 ดูรายละเอียด
79. 2562 การพัฒนากระบวนการผลิตกากงาหมักเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของกากงา ดูรายละเอียด
80. 2562 สมบัติและศักยภาพของโปรตีนไฮโดรไลเสตจากกากถั่วลายเสือเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สำหรับผู้สูงอายุ ดูรายละเอียด
81. 2562 การผลิตสารละลายโปรตีนจากหนอนไหมหลังชักใยและการประยุกต์ใช้ในเครื่องดื่มเจล ดูรายละเอียด
82. 2562 ความคาดหวังของผู้รับบริการต่อศูนย์บริการธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2562 ดูรายละเอียด
83. 2562 ความร่วมมือการวิจัยร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยยามากาตะ – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2018: การพัฒนาเทคโนโลยีไฟติก/ไฟเตส ดูรายละเอียด
84. 2562 นวัตกรรมสารสกัดเปปไทด์จากปลิงทะเลและแมงกะพรุนไทยเพื่อเวชสำอางมูลค่าสูง ดูรายละเอียด
85. 2562 การผลิตสารดูดซับสารพิษจากเชื้อราโดยใช้ยีสต์แดง (Sporidiobolus pararoseus) ในเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
86. 2562 การใช้พลาสมาในการผลิตฟิล์มบรรจุภัณฑ์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร ดูรายละเอียด
87. 2562 การนำผลงานวิจัยอาหารสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ (commercialization) ดูรายละเอียด
88. 2562 ผลของการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศและการใช้บรรจุภัณฑ์ EMA ต่อความปลอดภัยของผักสลัดตัดแต่งพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
89. 2562 การใช้เทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำในการผลิตแป้งคุณค่าอาหารสูงจากข้าวไรซ์เบอรี่เพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
90. 2562 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวผสมให้มีเนื้อสัมผัสเหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก ดูรายละเอียด
91. 2562 การสังเคราะห์และวิเคราะห์สมบัติเฉพาะของพอลิเมอร์ร่วมลักษณะคล้ายบรัช จากโอลิโกแลคติคแอซิด สเตอริโอคอมเพลกซ์และนอร์บอร์นีนที่มีอนุพันธ์ของกรดอะมิโน ดูรายละเอียด
92. 2562 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
93. 2562 การผลิตและการศึกษาลักษณะของแอลคาไลน์เซอรีนโปรติเอสที่ทนอุณหภูมิสูงและการประยุกต์ในการผลิตเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากเซริซิน ดูรายละเอียด
94. 2562 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการลดอุณหภูมิในการผลิตผักมูลนิธิโครงการหลวงตลอดสายโซ่อุปาทานเพื่อปรับปรุงคุณภาพและความปลอดภัย ดูรายละเอียด
95. 2562 ผลขององค์ประกอบของสารตั้งต้นของสารให้กลิ่นรสกาแฟอะราบิกาและการคั่วที่มีต่อกลิ่นรสกาแฟ ดูรายละเอียด
96. 2562 การใช้เทคนิคเอ็นแคปซูเรชันเพื่อปรับปรุงกลิ่นรสของสารสกัดจากเห็ดหลินจือและการประยุกต์ใช้ในเครื่องดื่มสกัดเข้มข้นเพื่อลดความเสี่ยงจากโรคมะเร็ง ดูรายละเอียด
97. 2562 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
98. 2562 การเพิ่มสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในโสมเกาหลี (Panax ginseng C.A. Meyer) โดยใช้วิธีออสโมซีสร่วมกับน้ำหมักเมี่ยงและการประยุกต์ในอาหาร ดูรายละเอียด
99. 2562 การหากระบวนการดีที่สุดในการผลิตสารเคมีเพิ่มมูลค่าจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
100. 2562 การหากระบวนการดีที่สุดในการผลิตสารเคมีเพิ่มมูลค่าจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
101. 2562 การผลิตแคโรทีนอยด์โดยวิธีการลดอุณหภูมิแบบลำดับส่วน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากน้ำมันปาล์มแดง และไขปาล์มที่ได้จากกระบวนการผลิต ดูรายละเอียด
102. 2562 การผลิตน้ำมันสกัดให้มีคุณภาพสูงด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีสภาวะสูงกว่าจุดวิกฤต ดูรายละเอียด
103. 2562 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เม็ดข้าวโพดกรอบ ดูรายละเอียด
104. 2562 การจัดทำสูตรผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากพืชวงศ์ขิงร่วมกับพืชทางภูมิปัญญาท้องถิ่นในรูปแบบไอศกรีมจำนวน 1 สูตร ดูรายละเอียด
105. 2562 การพัฒนากระบวนการผลิตคาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลสจากฟางข้าวแบบเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อขยายกำลังการผลิตเชิงพาณิชย์และการใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงคุณสมบัติของเทอร์โมพลาสติกฟลาวร์จากปลายข้าวสำหรับผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ดูรายละเอียด
106. 2562 นวัตกรรมการพัฒนาสารประกอบพันธะเชื่อมจากข้าวและผลหม่อนเพื่อเพิ่มฤทธิ์ทางชีวภาพ ดูรายละเอียด
107. 2562 การพัฒนากระบวนการผลิตและเก็บรักษาของลูกตาวแช่อิ่มอบแห้งรสกาแฟ ดูรายละเอียด
108. 2562 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินฟราเรดในข้าวพันธุ์ กข 43 ให้มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวสำเร็จรูปสำหรับผู้ควบคุมน้ำหนัก ดูรายละเอียด
109. 2562 การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์ในพื้นที่โครงการหลวง ดูรายละเอียด
110. 2562 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลกติกเพื่อการผลิตกรดแลกติกรูปแอลหรือดีจากลิกโนเซลลูโลส ดูรายละเอียด
111. 2562 Development of functional drink from Thai colored rice in order to anti-aging for elderly person ดูรายละเอียด
112. 2562 ความหลากหลายของเกสรผึ้งในประเทศไทยและการแปรรูปเกสรผึ้งเป็นผลิตภัณฑ์เสริมโภชนาการ ทั้งเชิงการแพทย์และเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
113. 2562 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แคบหมูลดไขมันพร้อมรับประทานโดยใช้ไมโครเวฟสุญญากาศ ดูรายละเอียด
114. 2562 การพัฒนาสารให้สีธรรมชาติจากดอกอัญชันด้วยเทคนิคโคพิกเมนต์เทชัน ดูรายละเอียด
115. 2562 การศึกษาความเป็นไปได้เชิงพาณิชย์ในการผลิตผลหม่อนสุกแช่เยือกแข็งเพื่อการบริโภคสดที่ปลูกจากกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดน่าน ดูรายละเอียด
116. 2562 การศึกษาการแปรรูปผลิตผลเลมอนเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
117. 2562 พื้นรองเท้าเพื่อสุขภาพจากพลาสติกชีวภาพผสมยางพารา ดูรายละเอียด
118. 2562 เทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์ทนน้ำมันจากยางพาราผสมแป้งและตัวประสานรังไหม ดูรายละเอียด
119. 2562 การปรับปรุงกระบวนการผลิตรำข้าวไฮโดรไลเสทในระดับนำร่องการผลิตและการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
120. 2562 ผลการเสริมฤทธิ์ระหว่างสารสกัดชาเขียวและสารสกัดขมิ้นชันต่อการต้านมะเร็งและการประยุกต์ใช้ในเครื่องดื่มเข้มข้นสำหรับผู้สูงวัย ดูรายละเอียด
121. 2562 การพัฒนาแม่พิมพ์และหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการขึ้นรูปพลาสติกชีวภาพ ดูรายละเอียด
122. 2562 การสกัดเปปไทด์ที่มีสมบัติป้องกันแสงและต้านออกซิเดชันจากปลิงทะเลและแมงกะพรุนไทยเพื่ออุตสาหกรรมสารสกัดมูลค่าสูง ดูรายละเอียด
123. 2562 ผลของการใช้สารให้ความหวานและแป้งดัดแปรต่อคุณภาพของกาละแมระหว่างการเก็บรักษา ดูรายละเอียด
124. 2562 Composite gel beads - based alginate, indicators, and agricultural waste and the application for moisture indicator and pesticide adsorbent in packaging system of foods and fresh produce ดูรายละเอียด
125. 2562 Optimization of culture conditions for efficient polyhydroxyalkanoate production from glycerol ดูรายละเอียด
126. 2562 การคัดเลือกแบคทีเรียที่ผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอทโดยใช้เทคนิคทางพันธุกรรม ดูรายละเอียด
127. 2562 การพัฒนาไมโครแคปซูลเก็บกักสารให้กลิ่นรสจากใบมะกรูดโดยใช้วิธีโคอะเซอร์เวชันเชิงซ้อน ดูรายละเอียด
128. 2562 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์กระเทียมดำเพื่อลดความเสี่ยงจากมะเร็งและการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
129. 2562 การพัฒนาสูตรอาหารต้นทุนต่ำและกระบวนการหมักเพื่อผลิตกรดแลกติกรูปดีจากแป้งโดย Lactobacillus plantarum D1X1 ดูรายละเอียด
130. 2562 การปรับปรุงกระบวนการและสภาวะที่เหมาะสมสำหรับยีสต์ (Phaffia rhodazyma) ที่เลี้ยงในน้ำสกัดข้าวฟ่างหวานและการสกัดแอสตาแซนธินโดยใช้ตัวทำละลาย ดูรายละเอียด
131. 2562 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทางสายให้อาหารกึ่งสำเร็จรูป ดูรายละเอียด
132. 2562 การพัฒนาสูตรกระบวนการผลิตและการบรรจุผลิตภัณฑ์คางกุ้งทอดอบกรอบเพื่อการส่งออก ดูรายละเอียด
133. 2562 การพัฒนากระบวนการผลิตปลาทูก้างนิ่ม ดูรายละเอียด
134. 2562 กาแฟสกัดกาเฟอีนด้วยเทคนิคการเพาะงอกร่วมกับ swiss water process ดูรายละเอียด
135. 2562 การพัฒนาการผลิตชุดอาหารในระดับอุตสาหกรรมต้นแบบเพื่อส่งเสริมโภชนาการของผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการกลืน ดูรายละเอียด
136. 2562 การผลิตไบโอรีไฟเนอรี่จากวัสดุชีวภาพโดยเทคโนโลยีปลอดของเสีย ปีที่ 2 ดูรายละเอียด
137. 2562 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
138. 2562 การผลิตสารเอกซ์โซพอลิแซคคาร์ไรด์มูลค่าสูงด้วยจุลินทรีย์ จากชีวมวลราคาถูก และแนวทางการดัดแปลงและการประยุกต์ใช้ทางอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
139. 2562 ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก ดูรายละเอียด
140. 2562 การพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อรักษาลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมครกญี่ปุ่น (Takoyaki) แช่แข็ง ดูรายละเอียด
141. 2562 การคัดเลือกและการระบุสายพันธุ์โพรไบโอติกจากแบคทีเรียกรดแลกติกคัดแยกได้จากเมี่ยง ดูรายละเอียด
142. 2562 การพัฒนาอินดิเคเตอร์บ่งชี้การเน่าเสียของผักสลัดตัดแต่งพร้อมบริโภคเพื่อใช้ติดตามความสดและความปลอดภัยในสายโซ่อุปาทาน ดูรายละเอียด
143. 2561 การผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสทที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากเลือดและเนื้อดำของปลาทูน่าเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ดูรายละเอียด
144. 2561 การใช้ลำไยสดคละเกรดเพื่อผลิตฟีนิลแอซีติลคาร์บินอลจากเบนซาลดีไฮด์ด้วยเซลล์รวมยีสต์ในจีนัสแคนดิดาในระบบถังไบโอทรานส์ฟอร์เมชันของเหลวสองชั้นแบบป้อนกะไพรูเวต ดูรายละเอียด
145. 2561 การผลิตโปรตีนไฮโดรไลเซทจากหนอนนก (Tenebrio molitor) เพื่อประยุกต์ใช้ในเครื่องดื่มสำเร็จรูปโปรตีนสูง ดูรายละเอียด
146. 2561 เทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์จากพลาสติกชีวภาพ ดูรายละเอียด
147. 2561 การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากเนื้อผลกาแฟโดยวิธีการหมักแบบเร่งและการประยุกต์ในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม ดูรายละเอียด
148. 2561 แผนงานการเพิ่มมูลค่าพอลิเมอร์ชีวภาพของสาหร่ายพวงองุ่นและแบคทีเรียแลกติกเพื่อความงามและเสริมสุขภาพผิว ดูรายละเอียด
149. 2561 โซเดียมคาร์บอกซีเมทธิลไคโตซานร่วมกับแทนนินจากเปลือกมังคุดที่เหมาะสม ดูรายละเอียด
150. 2561 การผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสทจากขนไก่โดยใช้เอนไซม์เคราติเนสทนร้อนจาก Bacillus halodurans SE5 และการนำไปใช้เป็นสับสเตรตในการผลิตพลาสติกชีวภาพชนิดทนร้อน ดูรายละเอียด
151. 2561 การโคลนยีนและศึกษาสมบัติของแทนเนสจากแบคทีเรียกรดแลกติกทนแทนนิน Lactobacillus pentosus ดูรายละเอียด
152. 2561 การผลิตไบโอเอทานอลจากหญ้าเนเปียร์ที่ผ่านการปรับสภาพด้วยด่างโดยใช้กระบวนการย่อยสลายควบคู่กับการหมักร่วม ดูรายละเอียด
153. 2561 การคัดเลือกแบคทีเรียทนร้อนที่ผลิตพอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอท ดูรายละเอียด
154. 2561 การทำบริสุทธิ์และการศึกษาลักษณะของแอลคาไลน์เคราติเนสที่ทนอุณหภูมิสูงจาก Bacillus sp. SW-X ที่แยกได้จากน้ำพุร้อน และการนำไปใช้ในการผลิตไฮโดรไลเสทจากขนไก่เพื่อใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตพลาสติกชีวภาพ ดูรายละเอียด
155. 2561 แนวทางการพัฒนาคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สู่องค์กรสมรรถนะสูง (High Performance Organization) ดูรายละเอียด
156. 2561 การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็คทรอนิกส์บนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง การสอนแบบศตวรรษที่ 21 ด้านเทคโนโลยีวัสดุธรรมชาติ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
157. 2561 แผนงานการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากเหมี้ยงเพื่อสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ดูรายละเอียด
158. 2561 แผนงานการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากเหมี้ยงเพื่อสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ดูรายละเอียด
159. 2561 นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากเหมี้ยงเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน ดูรายละเอียด
160. 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผลไม้สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก ดูรายละเอียด
161. 2561 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เจลซูริมิเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุที่มีภาวะการกลืนลำบาก ดูรายละเอียด
162. 2561 Batch and Continuous Cultivation of Yeast Whole Cell in the Optimum C : N Ratio of Longan Fruit Medium and Assessment of the Potential for Phenylacetylcarbinol Biotransformation ดูรายละเอียด
163. 2561 Effect of extraction method on the chemical composition and antioxidant activity of Anaxagorea luzonensis A. GRAY ดูรายละเอียด
164. 2561 ผลของการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศและการใช้บรรจุภัณฑ์ EMA ต่อความปลอดภัยของผักสลัดตัดแต่งพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
165. 2561 การใช้ไมโครเวฟช่วยในการสกัดสารสำคัญจากขิงเพื่อนำมาเสริมในฟิล์มที่บริโภคได้จากข้าวไทย ดูรายละเอียด
166. 2561 การพัฒนาเมล็ดกาแฟอะราบิกาที่มีสารกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริกและการใช้สำหรับผลิตภัณฑ์กาแฟพร้อมดื่ม ดูรายละเอียด
167. 2561 การใช้เทคโนโลยีพลาสมาอุณหภูมิต่ำในการผลิตแป้งคุณค่าอาหารสูงจากข้าวไรซ์เบอรี่เพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
168. 2561 การพัฒนาเม็ดไฮโดรเจลที่มีน้ำมันหอมระเหย และการประยุกต์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาข้าวกะเพราหมูแช่เย็น ดูรายละเอียด
169. 2560 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลกติกย่อยแป้ง Lactobacillus plantarum S21 เพื่อการผลิตกรดแลกติกรูปดีหรือแอล ดูรายละเอียด
170. 2560 การพัฒนาระบบการผลิตมวลเซลล์รวมแบบต่อเนื่อง / ต่อเนื่องอนุกรม จากน้ำลำไยสด และกากลำไยสดความเข้มข้นสูง เพื่อใช้เร่งปฏิกิริยาการเชื่อมต่อไพรูเวต และเบนซาลดีไฮด์ให้เป็นฟีนิลแอซิติลคาร์บินอล ในถังไบโอทรานส์ฟอร์ม แบบของเหลวสองชั้น และแบบหยดอิมัลชั่น โดยมีน้ำมันพืชเป็นชั้นสารอินทรีย์ ดูรายละเอียด
171. 2560 แผนงานการวิจัยเพิ่มมูลค่าเมล็ดงาขี้ม่อนงอกเพื่อความงามและเสริมสุขภาพผิว ดูรายละเอียด
172. 2560 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้จากการผลิตซูริมิในรูปแบบเจลาตินปลาและเจลาตินปลาไฮโดรไลเสทเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาสัตว์น้ำสดแช่เย็น ดูรายละเอียด
173. 2560 การศึกษาการสกัดน้ำมันจากเมล็ดชาเมี่ยง และเมล็ดชาพื้นเมืองภาคเหนือ โดยใช้เทคนิคการสกัดแบบบีบเย็น และการสกัดด้วยของไหลที่สภาวะต่ำและสูงกว่าจุดวิกฤติ รวมถึงการออกแบบเครื่องสกัดต้นแบบ ดูรายละเอียด
174. 2560 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งเสริมโพรไบโอติก โดยเทคนิคการเคลือบผิวด้วยสารเคลือบพรีไบโอติกที่บริโภคได้ ดูรายละเอียด
175. 2560 การลดปริมาณน้ำใช้ในกระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากมวลชีวภาพด้วยระบบการหมักบนอาหารแข็งที่เติมอาหารเป็นระยะและมีการติดตั้งระบบแก๊สสตริปปิ้ง ดูรายละเอียด
176. 2560 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาใบเมี่ยงกึ่งสำเร็จรูปกลิ่นใบเตยด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบใช้แผงรับแสงอาทิตย์ในเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
177. 2560 การผลิตซินไบโอติกโยเกิร์ตพร้อมดื่มจากข้าวหักที่มีมูลค่าทางการตลาดต่ำสำหรับเป็นอาหารเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ดูรายละเอียด
178. 2560 การสกัดและดัดแปรเมือกจากผักปลังเพื่อใช้เป็นสารต้านเชื้อจุลินทรีย์ ดูรายละเอียด
179. 2560 การดัดแปรแป้งและสตาร์จากข้าวมีสีด้วยเทคโนโลยีพลาสมา ดูรายละเอียด
180. 2560 การประยุกต์ใช้ไฮโดรไลเสตจากวุ้นที่สกัดจากสาหร่ายผมนางเป็นสารปรับปรุงคุณภาพเจลที่มีฤทธิ์การต้านออกซิเดชันในซูริมิจากปลาผสม ดูรายละเอียด
181. 2560 การผลิตเอทานอลจากมันเส้นด้วยกระบวนการย่อยแป้งและหมักพร้อมกันภายใต้สภาวะการจำกัดปริมาณน้ำ ดูรายละเอียด
182. 2560 ผลของโอโซนต่อการลดปริมาณสารเคมีเกษตรตกค้างบางชนิดและจุลินทรีย์ก่อโรคในผัก ดูรายละเอียด
183. 2560 ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา กลุ่มปฏิบัติการจุลชีววิทยา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
184. 2560 การประเมินภาพรวมโครงการวิจัยคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ดำเนินการในปี 2557-2559 ดูรายละเอียด
185. 2560 ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานและคุณภาพชีวิตของบุคลากร คณะอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
186. 2560 การพัฒนากระบวนการผลิตกระเจี๊ยบเขียวผงด้วยกระบวนการไมโครเวฟร่วมสุญญากาศและการประยุกต์ในผลิตภัณฑ์ขนมปัง ดูรายละเอียด
187. 2560 การพัฒนาเส้นขนมจีนเสริมโปรตีนจากไข่ขาว ดูรายละเอียด
188. 2560 การผลิตฟอสเฟตไอออนจากจุลินทรีย์ที่มีศักยภาพในการใช้ไฟเตตจากรำข้าวหอมมะลิ ดูรายละเอียด
189. 2560 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารโปรตีนต้นแบบจากปลาสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบากเพื่อการประยุกต์ใช้ในระดับอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
190. 2560 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมหวานสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก ดูรายละเอียด
191. 2560 การพัฒนาเนื้อสัมผัสของข้าวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะกลืนลำบาก ดูรายละเอียด
192. 2559 การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในกระบวนการผลิตเครื่องดื่มสมุนไพร ดูรายละเอียด
193. 2559 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลกติกย่อยแป้ง Lactobacillus plantarum S21 เพื่อการผลิตกรดแลกติกรูปดีหรือแอล ดูรายละเอียด
194. 2559 การออกแบบเครื่องสกัดคาเทซินต้นแบบเพื่อนำเอาคาเทชินปริมาณสูงในน้ำนึ่งเมี่ยงและน้ำหมักเมี่ยงจากกระบวนการผลิตเมี่ยงกลับมาใช้โดยการสกัดด้วยของเหลว-ของเหลวที่สภาวะต่ำกว่าจุดวิกฤต ดูรายละเอียด
195. 2559 การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่สร้างฮีสตามีนและแบคทีเรียก่อโรคในเนื้อหมูสดแช่เย็นโดยใช้กระดาษเคลือบสารสกัดจากข่า ดูรายละเอียด
196. 2559 ผลของกระบวนการคงสภาพต่อสารต้านออกซิเดชันในรำข้าวก่ำและการประยุกต์ใช้รำข้าวก่ำในผลิตภัณฑ์กุนเชียง ดูรายละเอียด
197. 2559 การวิจัยกระบวนการชีวภาพเพื่อผลิตพลังงานชีวภาพจากแหล่งคาร์บอนใหม่ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ / สารเคมีมูลค่าสูงจากเกษตรที่ไม่ใช่อาหาร ดูรายละเอียด
198. 2559 การผลิตเอทานอลจากฟางข้าวด้วยยีสต์แบบกักเก็บ ดูรายละเอียด
199. 2559 การพัฒนาเครื่องดื่มแอนโทไซยานินชนิดผงชงละลายเพื่อสุขภาพจากข้าวก่ำ ดูรายละเอียด
200. 2559 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้จากการผลิตซูริมิในรูปแบบเจลาตินปลา และเจลาตินปลาไฮโดรไลเสทเพื่อปรับปรุงคุณภาพของเส้นบะหมี่ปราศจากกลูเตน ดูรายละเอียด
201. 2559 การออกแบบเครื่องสกัดต้นแบบสำหรับการสกัดน้ำมันจากเมล็ดชาเมี่ยงและเมล็ดชาพื้นเมืองภาคเหนือโดยใช้เทคนิคการสกัดที่เหมาะสม ดูรายละเอียด
202. 2559 กระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นในถังทำปฏิกิริยาที่มีระบบควบคุมระดับสารตั้งต้นเพื่อผลิตฟีนิลแอซีติลคาร์บินอลด้วยเซลล์รวมจากระบบการหมักแบบกะที่ใช้น้ำตาลระดับความเข้มข้นสูงจากการย่อยกากลำไยสดเป็นสารตั้งต้น ดูรายละเอียด
203. 2559 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาส้มด้วยกระบวนการผลิตแบบเร่งโดยใช้ข้าวสายพันธุ์พื้นเมืองเป็นแหล่งคาร์บอน ดูรายละเอียด
204. 2559 การทำแห้งผลไม้ตามฤดูกาล(มังคุด สตรอเบอรี สับปะรด และกล้วยหอม) ของประเทศไทยด้วยเทคโนโลยีอุณหภูมิต่ำสุญญากาศร่วมกับไมโครเวฟเพื่อยืดอายุ เพิ่มมูลค่าและลดการสูญเสียทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ ดูรายละเอียด
205. 2559 การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากเปลือกเมล็ดกาแฟโดยวิธีการหมักแบบเร่ง ดูรายละเอียด
206. 2559 การพัฒนาฟิล์มประกอบชีวภาพต้านออกซิเดชันจากสตาร์ชข้าวและอนุพันธุ์คาร์โบไฮเดรตร่วมกับผลิตภัณฑ์จากผึ้ง ดูรายละเอียด
207. 2559 ผลของสภาวะการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศต่อคุณภาพทางเคมีกายภาพและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของเบบี้คอสหลังการเก็บเกี่ยวและการทำนายสภาวะที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม ดูรายละเอียด
208. 2559 การผลิตพอลีเมอร์ยางพาราคอมโพสิตชนิดใหม่ ดูรายละเอียด
209. 2559 การเสริมแคลเซียมในนมถั่วเหลืองผสมน้ำนมข้าวโพด ดูรายละเอียด
210. 2559 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักกรอบผสมเพื่อสุขภาพจากเศษผักหลังการตัดแต่ง ดูรายละเอียด
211. 2559 การผลิตไบโอรีไฟเนอรี่จากวัสดุชีวภาพโดยเทคโนโลยีปลอดของเสีย ดูรายละเอียด
212. 2559 โครงการวิจัยไบโอพลาสติกทนอุณหภูมิต่ำเพื่อบรรจุภัณฑ์อาหารแช่แข็ง ดูรายละเอียด
213. 2559 การบูรณาการงานวิจัยชาเมี่ยงเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ดูรายละเอียด
214. 2559 กิจกรรมต้านการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ต้านออกซิเดชัน และความเสถียรต่อความร้อนของแอนโทไซยานินจากข้าวก่ำที่เกิดโคพิกเมนต์กับสารสกัดจากพืช ดูรายละเอียด
215. 2559 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ลำไยอบกึ่งแห้งรูปแบบใหม่ ดูรายละเอียด
216. 2559 การใช้สารสกัดจากสาหร่ายน้ำจืดทางภาคเหนือเป็นสารต้านออกซิเดชันทางเลือกในกระบวนการผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสตคุณภาพสูง ดูรายละเอียด
217. 2559 การปรับปรุงคุณภาพและการสร้างเค้าโครงกลิ่นรสของใบมะกรูดอบแห้ง ดูรายละเอียด
218. 2559 การผลิตไซโลโอลิโกแซกคาไรด์และไบโอเอทานอลจากซังข้าวโพดโดยวิธีทางเอนไซม์ ดูรายละเอียด
219. 2559 การผลิตลิพิดและแคโรทีนอยด์จากโอลิจินัสยีสต์โดยใช้เศษข้าวที่ได้จากขยะอาหารเป็นแหล่งคาร์บอน ดูรายละเอียด
220. 2559 NRU เกษตรที่ไม่ใช่อาหาร (C1) ดูรายละเอียด
221. 2558 ผลของสภาวะการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศต่อคุณภาพทางเคมีกายภาพและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของเบบี้คอสหลังการเก็บเกี่ยวและการทำนายสภาวะที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม ดูรายละเอียด
222. 2558 ผลิตภัณฑ์ข้าวต้มกึ่งสำเร็จรูปเสริมแบคทีเรียโพรไบโอติก ดูรายละเอียด
223. 2558 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารเช้าธัญชาติจากข้าวก่ำเพื่อลดระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดในอาสาสมัครสุขภาพดีและผู้เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ดูรายละเอียด
224. 2558 การใช้เทคนิคอัลตราโซนิกร่วมในการสกัดเจลาตินจากหนังปลาบึกเลี้ยงและการประยุกต์ใช้เพื่อรักษาความคงตัวของสารสีจากธรรมชาติสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร ดูรายละเอียด
225. 2558 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลกติกย่อยแป้ง Lactobacillus plantarum S21 เพื่อการผลิตกรดแลกติกรูปดีหรือแอล ดูรายละเอียด
226. 2558 การดัดแปรอนุพันธ์ที่ละลายน้ำของไคโตซานเพื่อประยุกต์ใช้ในเครื่องสำอางถนอมผิวพรรณ ดูรายละเอียด
227. 2558 การพัฒนาเครื่องดื่มโปรไบโอติกจากน้ำผลไม้รวมชนิดผง (เคพกูสเบอรี่ ราสเบอรี่ และมัลเบอรี่) โดยการประยุกต์ใช้เชื้อจุลินทรีย์บริสุทธิ์ ดูรายละเอียด
228. 2558 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักกรอบผสมเพื่อสุขภาพจากเศษผักหลังการตัดแต่ง ดูรายละเอียด
229. 2558 การศึกษารูปแบบของบรรจุภัณฑ์เพื่อการวางจำหน่ายสำหรับองุ่นพันธุ์ Beauty Seedless ดูรายละเอียด
230. 2558 พอลิเมอร์แบบเม็ดจากไคโตซานผสมน้ำมันหอมระเหยเพื่อต้านจุลินทรีย์และยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้สด : สมบัติและการใช้งาน ดูรายละเอียด
231. 2558 โครงเนื้อเยื่อสังเคราะห์จากโคพอลิเมอร์ของนอร์บอร์นีนที่มีอนุพันธ์ของกรดอะมิโนและแลคไทด์เพื่อศึกษาคุณสมบัติและความสามารถในการบรรจุและปลดปล่อยยา ดูรายละเอียด
232. 2558 แผนงานวิจัยการเพิ่มมูลค่าของเมล็ดพืชสมุนไพรไทย ดูรายละเอียด
233. 2558 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองหมักที่มีสาร Gamma-aminobutyric acid (GABA) ความเข้มข้นสูงโดย Lactobacillus plantarum ดูรายละเอียด
234. 2558 การผลิตเซลลูโลสจากแบคทีเรียตระกูลอะซิโตแบคเตอร์โดยใช้น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
235. 2558 การผลิตฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสคอมโพสิทเพื่อการปรับปรุงคุณสมบัติของฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส ดูรายละเอียด
236. 2558 การประยุกต์แสงอินฟราเรดย่านใกล้เพื่อตรวจสอบปริมาณสารที่ระเหยได้ทั้งหมดและไตรเมทิลเอมีนในปลาทับทิมแล่แช่เย็น ดูรายละเอียด
237. 2558 ผลของสารสกัดใบโหระพาต่อปริมาณของวิตามินซีในน้ำฝรั่งระหว่างการเก็บรักษา ดูรายละเอียด
238. 2558 คุณสมบัติโฟมคอมโพสิตของแป้งข้าวเจ้า/คาโอลิน ดูรายละเอียด
239. 2558 ความรู้ ความเข้าใจ ของเจ้าหน้าที่พัสดุ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางการอิเล็กทรอนิกส์ ดูรายละเอียด
240. 2558 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลกติกย่อยแป้ง Lactobacillus plantarum S21 เพื่อการผลิตกรดแลกติกรูปดีหรือแอล ดูรายละเอียด
241. 2558 การดัดแปรอนุพันธ์ที่ละลายน้ำของไคโตซานเพื่อประยุกต์ใช้ในเครื่องสำอางถนอมผิวพรรณ ดูรายละเอียด
242. 2558 ไบโอพอลิเมอร์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพจากการผสมด้วยวิธีการผสมแบบเกิดปฏิกิริยาของเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชและพอลิเอทิลีนด้วยตัวประสานคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส ดูรายละเอียด
243. 2558 การประยุกต์แสงอินฟราเรดย่านใกล้เพื่อตรวจสอบความสามารถในการอุ้มน้ำและลักษณะเนื้อสัมผัสของปลาทับทิมแล่แช่เย็น ดูรายละเอียด
244. 2558 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ชนิดแข็งตัวจากคอมโพสิตเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชข้าว/เส้นใยฟางข้าว ดูรายละเอียด
245. 2558 การพัฒนาวิธีการผลิตและเปรียบเทียบเปปไทด์ที่มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันที่ได้จากส่วนต่างๆ ของผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมแปรรูปปลาทูน่า ดูรายละเอียด
246. 2558 การพัฒนาไมโครแคปซูลกักเก็บกลิ่นรสจากดอกจำปีระบบหลายแกนที่สามารถควบคุมการปลดปล่อยกลิ่นรสและการใช้ประโยชน์ในขนมไทยจากแป้งข้าว ดูรายละเอียด
247. 2558 ผลของข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่มีต่อสมบัติทางเคมีกายภาพและประสาทสัมผัสของปลาส้ม ดูรายละเอียด
248. 2558 การพัฒนาฟิล์มประกอบชีวภาพต้านออกซิเดชันจากสตาร์ชข้าวและอนุพันธุ์คาร์โบไฮเดรตร่วมกับผลิตภัณฑ์จากผึ้ง ดูรายละเอียด
249. 2558 การปรับปรุงคุณภาพด้านการหุงสุกของข้าวกล้องที่มีสีด้วยเทคโนโลยีพลาสมา ดูรายละเอียด
250. 2558 การพัฒนาผลิตภัณฑ์โจ๊กกึ่งสำเร็จรูปจากปลายข้าวลดโซเดียม ดูรายละเอียด
251. 2558 การพัฒนาตัวชี้วัดชนิดแถบสีแบบใหม่เพื่อตรวจวัดการเหม็นหืนของแคบหมู ดูรายละเอียด
252. 2558 การปรับปรุงเทคนิคการสกัดเจลาตินจากวัสดุเศษเหลือหนังปลาบึก การประยุกต์ใช้เพื่อช่วยรักษาความคงตัวของสารสีจากธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหาร ดูรายละเอียด
253. 2558 การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำสารสกัดจากแก่นฝางมายับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์อาหาร ดูรายละเอียด
254. 2558 การประเมินเทคโนโลยีของกระบวนการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสพืช และเซลลูโลสจุลินทรีย์โดยการจัดการแบบไร้ของเสีย ดูรายละเอียด
255. 2558 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์แอคทีฟสำหรับกล้วยหอมและมะม่วงน้ำดอกไม้ ดูรายละเอียด
256. 2558 พอลิเมอร์แบบเม็ดจากไคโตซานผสมน้ำมันหอมระเหยเพื่อต้านจุลินทรีย์และยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้สด ดูรายละเอียด
257. 2558 โครงเนื้อเยื่อสังเคราะห์จากโคพอลิเมอร์ของนอร์บอร์นีนที่มีอนุพันธ์ของกรดอะมิโนและแลคไทด์เพื่อศึกษาคุณสมบัติและความสามารถในการบรรจุและปลดปล่อยยา ดูรายละเอียด
258. 2558 ผลิตภัณฑ์ข้าวต้มกึ่งสำเร็จรูปเสริมแบคทีเรียโพรไบโอติก ดูรายละเอียด
259. 2558 แผนงานวิจัยการเพิ่มมูลค่าของเมล็ดพืชสมุนไพรไทย ดูรายละเอียด
260. 2558 แผนงานวิจัยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารเช้าธัญชาติจากข้าวก่ำเพื่อลดระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดในอาสาสมัครสุขภาพดีและผู้เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ดูรายละเอียด
261. 2558 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองหมักที่มีสาร Gamma-aminobutyric acid (GABA) ความเข้มข้นสูงโดย Lactobacillus plantarum ดูรายละเอียด
262. 2558 การผลิตเซลลูโลสจากแบคทีเรียตระกูลอะซิโตแบคเตอร์โดยใช้น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
263. 2558 การผลิตฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสคอมโพสิทเพื่อการปรับปรุงคุณสมบัติของฟิล์มคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส ดูรายละเอียด
264. 2558 การประยุกต์แสงอินฟราเรดย่านใกล้เพื่อตรวจสอบปริมาณสารที่ระเหยได้ทั้งหมดและไตรเมทิลเอมีนในปลาทับทิมแล่แช่เย็น ดูรายละเอียด
265. 2558 ผลของสารสกัดใบโหระพาต่อปริมาณของวิตามินซีในน้ำฝรั่งระหว่างการเก็บรักษา ดูรายละเอียด
266. 2558 คุณสมบัติโฟมคอมโพสิตของแป้งข้าวเจ้า/คาโอลิน ดูรายละเอียด
267. 2558 การใช้เทคนิคอัลตราโซนิกร่วมในการสกัดเจลาตินจากหนังปลาบึกเลี้ยงและการประยุกต์ใช้เพื่อรักษาความคงตัวของสารสีจากธรรมชาติสำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร ดูรายละเอียด
268. 2558 ความรู้ ความเข้าใจ ของเจ้าหน้าที่พัสดุ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางการอิเล็กทรอนิกส์ ดูรายละเอียด
269. 2557 การผลิตไซโลโอลิโกแซ็กคาไรด์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยใช้เอนไซม์ไซลาเนสจากเชื้อStreptomyces thermovulgaris TISTR1948และการนำไปใช้เป็นสารพรีไบโอติกส์ ดูรายละเอียด
270. 2557 นวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพจากข้าวเหนียวและรำข้าวเหนียวล้านนา ดูรายละเอียด
271. 2557 การลดค่าดัชนีน้ำตาลในเส้นก๋วยเตี๋ยวด้วยเอกซ์โซพอลิแซ็กคาไรด์ที่ผลิตโดยเชื้อ Lactobacillus confuses TISTR 1498 ดูรายละเอียด
272. 2557 การใช้สารสกัดลำไยสดแบบคละเกรดที่มีความเข้มข้นสูงในการผลิตเอทานอลแบบกะและต่อเนื่อง รวมถึงการทำเซลล์ตรึงในการผลิตฟีนิลแอซีติลคาร์บินอลด้วยระบบไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น ดูรายละเอียด
273. 2557 การปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมน้ำดอกไม้แช่เยือกแข็งด้วยสารไฮโดรคอลลอยด์และซูโครส ดูรายละเอียด
274. 2557 การแสดงลักษณะเฉพาะของอันตรายจากการเจ็บป่วยด้วยเชื้อก่อโรคที่มีอาหารเป็นสื่อจากการบริโภคผักสดตัดแต่งพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
275. 2557 องค์ประกอบทางเคมีและคุณสมบัติพรีไบโอติกของข้าวพันธุ์พื้นเมืองของไทย ดูรายละเอียด
276. 2557 การผลิตไคโตโอลิโกแซคคาไรด์ที่มีสมบัติต้านออกซิเดชันและต้านจุลินทรีย์สูงจากเปลือกกุ้งด้วยวิธีทางเอนไซม์ ดูรายละเอียด
277. 2557 การสกัดสารต้านอนุมูลอิสระในรำข้าวก่ำโดยใช้วิธีโครงร่างพื้นผิวตอบสนองและการผลิตไมโครเอนแคปซูลเพื่อกักเก็บสารต้านอนุมูลอิสระที่สกัดได้ ดูรายละเอียด
278. 2557 การพัฒนากระบวนการผลิตอังคักจากกากอุตสาหกรรม โดยใช้ถังหมักแบบฟลูอิดไดซ์เบท ดูรายละเอียด
279. 2557 การปรับปรุงเนื้อสัมผัสขนมไทยแช่เยือกแข็ง : ขนมน้ำดอกไม้ ; ผลของอัตราเร็วในการแช่เยือกแข็ง อุณหภูมิในการละลายน้ำแข็ง และการเติมโปรตีนบางชนิด ดูรายละเอียด
280. 2557 การพัฒนาฟักข้าวแผ่นโดยการอบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์และเครื่องอบแห้งลมร้อนแบบถาด ดูรายละเอียด
281. 2557 การพัฒนาวัสดุกรองมีประสิทธิภาพสูงจากวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อใช้บำบัดโทลูอีนด้วยระบบกรองอากาศชีวภาพ ดูรายละเอียด
282. 2557 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลกติกย่อยแป้ง Lactobacillus plantarum S21 เพื่อการผลิตกรดแลกติกรูปดีหรือแอล ดูรายละเอียด
283. 2557 การพัฒนาฟิล์มประกอบชีวภาพต้านออกซิเดชันจากสตาร์ชข้าวและอนุพันธุ์คาร์โบไฮเดรตร่วมกับผลิตภัณฑ์จากผึ้ง ดูรายละเอียด
284. 2557 การพัฒนาเครื่องดื่มโปรไบโอติกจากน้ำผลไม้รวมชนิดผง (เคพกูส เบอรี่ ราสเบอรี่ และมัลเบอรี่) โดยการประยุกต์ใช้เชื้อจุลินทรีย์บริสุทธิ์ ดูรายละเอียด
285. 2557 การพัฒนาผลิตภัณฑ์พร้อมบริโภคมะม่วงกึ่งแห้งด้วยระบบสุญญากาศเสริมเชื้อโพรไบโอติกจากกระบวนการ Vacuum impregnaiton ดูรายละเอียด
286. 2557 การศึกษาเบื้องต้น: การเปรียบเทียบค่าดัชนีน้ำตาลของข้าวโพดข้าวเหนียวแฟนซี สีม่วง 111 กับข้าวโพดหวาน และข้าวเจ้าในผู้ใหญ่สุขภาพดี ดูรายละเอียด
287. 2557 การพัฒนากระบวนการผลิตลูกเดือยอบพองเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
288. 2557 การยืดอายุการเก็บรักษาก๋วยเตี๋ยวแบบกึ่งแห้งด้วยสารสกัดเปปไทด์จากถั่วแปะยี ดูรายละเอียด
289. 2557 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากข้าวผสมสารสกัดจากสมุนไพรเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ดูรายละเอียด
290. 2557 การทดสอบประสิทธิภาพแท่งโลหะทอดอาหารเพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของน้ำมันทอดซ้ำ ดูรายละเอียด
291. 2557 การปรับปรุงกระบวนการผลิตสำหรับการผลิตก๊าซชีวภาพจากกากของเสียผลิตผลทางการเกษตรโดยไม่มีของเหลือทิ้ง ดูรายละเอียด
292. 2557 การผลิตเอทา-นอลด้วยสารสกัดลำไยสดแบบคละเกรดล้นตลาดที่มีความเข้มข้นสูง ดูรายละเอียด
293. 2557 โครงการวิจัยคุณค่าทางโภชนาการและสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากหนอนไหมและดักแด้ไหมสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
294. 2557 การผลิตเจลาตินจากหนังโคเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมเครื่องหนัง ดูรายละเอียด
295. 2557 การสกัดแอนโธไซยานินจากเมล็ด ซัง เปลือก และไหมของข้าวโพดไร่สีม่วงและข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วงด้วยน้ำที่สภาวะต่ำกว่าจุดวิกฤติ ดูรายละเอียด
296. 2557 การเตรียมความพร้อมเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตเส้นบะหมี่ไข่เพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
297. 2557 การเตรียมความพร้อมเพื่อยกระดับมาตรฐานของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากสมุนไพร ดูรายละเอียด
298. 2557 การผลิตกรดแลคติกรูปแอลจากอ้อยและมันสำปะหลัง ดูรายละเอียด
299. 2557 การพัฒนาอาหารเทียมและสภาวะที่เหมาะสมต่อการเกิดดอกเห็ดถั่งเช่าและการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์เพื่อการผลิตคอร์ไดเซพิน ดูรายละเอียด
300. 2557 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เอนเนอร์จี้บาร์ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงจากสาหร่ายเกลียวทองเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
301. 2557 การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์น้ำตาลอินทผลัม ดูรายละเอียด
302. 2556 การผลิตไฟเตสทนร้อนจากแอคติโนไมซีท Thermomonospora sp. RC7 ใน Pichia pastoris โดยใช้กลีเซอรอลเหลือทิ้งเป็นแหล่งคาร์บอน ดูรายละเอียด
303. 2556 ผลของกระบวนการแปรรูปผลมะเกี๋ยงให้เป็นอาหารต่อปริมาณและคุณภาพของสารออกฤทธิ์ชีวภาพ ดูรายละเอียด
304. 2556 การดัดแปรเนื้อสัมผัสและการผลิตข้าวก่ำนึ่งสุกเร็วด้วยไมโครเวฟ ดูรายละเอียด
305. 2556 การสังเคราะห์พอลิเมอร์จากมอนอเมอร์ของนอร์บอร์นีนที่ประกอบด้วยอนุพันธ์ของกรดอะมิโน และศึกษาสมบัติของการเกิดเป็นไมเซล (micelle) และคุณสมบัติอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการนำส่งยา ดูรายละเอียด
306. 2556 การใช้สารสกัดลำไยล้นตลาดความเข้มข้นสูง สำหรับการผลิตเอทานอล ด้วยถังหมักต่อเนื่องแบบอนุกรมและเซลล์รวม เพื่อผลิตฟีนิลแอซีติลคาร์บินอล ดูรายละเอียด
307. 2556 ศักยภาพของน้ำมันมะกลิ้งเพื่อใช้เป็นอาหารสุขภาพ ดูรายละเอียด
308. 2556 การใช้ประโยชน์ของผลมะเฟืองและผลไม้อื่นในโครงการฟาร์มตัวอย่าง ในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ บ้านแม่ตุงติง ดูรายละเอียด
309. 2556 การวิเคราะห์ความสามารถในการพึ่งพาตนเองทางการเงินของคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
310. 2556 การศึกษาทัศนคติและศักยภาพของบุคลากรคณะอุตสาหกรรมเกษตร ต่อการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดูรายละเอียด
311. 2556 การศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการได้รับจัดสรรครุภัณฑ์ประจำคณะ ดูรายละเอียด
312. 2556 การหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการย่อยสลายลิกนินโดยปฏิกิริยาเฟนตันที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาแบบผสมด้วยใช้การประยุกต์ใช้แบบแผนการทดลอง Central Composite Design (CCD) ดูรายละเอียด
313. 2556 การศึกษาเบื้องต้น: การเปรียบเทียบค่าดัชนีน้ำตาลของข้าวก่ำกับข้าวเหนียวขาว และข้าวเจ้าในผู้ใหญ่สุขภาพดี ดูรายละเอียด
314. 2556 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นผสมในการผลิต GABA จากเศษผักหลังการตัดแต่ง:แนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์กิมจิดัดแปลงเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
315. 2556 การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียกรดแลคติกย่อยแป้ง Lactobacillus plantarum S21 ดูรายละเอียด
316. 2556 การออกแบบเครื่องต้นแบบระดับโรงงานเพื่อผลิต แคโรทีนอยด์เข้มข้นจากน้ำมันปาล์มดิบและวิตามินอีเข้มข้นจากดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม ดูรายละเอียด
317. 2556 การสกัดแอนโธไซยานินจากเมล็ด ซัง เปลือก และไหมของข้าวโพดไร่สีม่วงและข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วงด้วยน้ำที่สภาวะต่ำกว่าจุดวิกฤติ ดูรายละเอียด
318. 2556 แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพเชิงป้องกัน ดูรายละเอียด
319. 2556 การผลิตฟรุกโตอิลีโกแซ็กคาไรด์จากน้ำเชื่อมลำไยคละเกรด และการทดสอบสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ดูรายละเอียด
320. 2556 โครงการขยายผลเพื่อสำรวจและทดสอบตลาดของผลิตภัณฑ์พรีไบโอติกฟรุกโตโอลิโกแซ็กคาไรด์จากน้ำเชื่อมลำไย ดูรายละเอียด
321. 2556 การพัฒนาผลิตภัณฑ์พร้อมบริโภคมะม่วงกึ่งแห้งด้วยระบบสุญญากาศเสริมเชื้อโพรไบโอติกจากกระบวนการ Vacuum impregnaiton ดูรายละเอียด
322. 2556 กระบวนการผลิตไบโอเอทานอล บิวทานอล ไบโอดีเซลและสารเคมีมูลค่าสูงโดยไม่มีของเหลือทิ้ง ดูรายละเอียด
323. 2556 การพัฒนาเครื่องดื่มพร้อมดื่มจากดอกอัญชันและบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม ดูรายละเอียด
324. 2556 การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพและสารเคมีมูลค่าสูงจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรโดยกระบวนการผลิตปราศจากของเสียแบบครบวงจร ดูรายละเอียด
325. 2556 การพัฒนาเครื่องดื่มลำไยสกัดจากลำไยอบแห้งทั้งผลตกเกรด ดูรายละเอียด
326. 2556 การศึกษาวิจัยและพัฒนามาตรฐานตำรับและรสชาติอาหารไทย: ตำรับข้าวซอย ไส้อั่ว น้ำพริกหนุ่มและน้ำพริกอ่อง ดูรายละเอียด
327. 2556 ผลของสารอิมัลซิไฟเออร์ สารเพิ่มความคงตัว ปริมาณไขมัน ปริมาณน้ำตาลและชนิดของเครื่องผลิตไอศกรีมที่มีผลต่อคุณภาพของไอศกรีมนมสด ดูรายละเอียด
328. 2556 การสร้างมูลค่าและเพิ่มมูลค่าแก่เมล็ดมะขาม ดูรายละเอียด
329. 2556 การพัฒนาฟิล์มเคลือบเนื้อทุเรียนบริโภคได้ที่มีส่วนผสมของคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากเปลือกทุเรียน ดูรายละเอียด
330. 2556 GREENHELL (EN FERVERT) ดูรายละเอียด
331. 2556 การยืดอายุการเก็บรักษาก๋วยเตี๋ยวแบบกึ่งแห้งด้วยสารสกัดเปปไทด์จากถั่วแปะยี ดูรายละเอียด
332. 2556 การศึกษาอายุการเก็บรักษาน้ำผึ้งผสมเลมอน ดูรายละเอียด
333. 2556 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรจากขิงผสมน้ำผึ้ง ดูรายละเอียด
334. 2556 พัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกหนุ่มกึ่งสำเร็จรูป ดูรายละเอียด
335. 2556 การพัฒนาฟิล์มประกอบชีวภาพต้านออกซิเดชันจากสตาร์ชข้าวและอนุพันธุ์คาร์โบไฮเดรตร่วมกับผลิตภัณฑ์จากผึ้ง ดูรายละเอียด
336. 2555 การสังเคราะห์และวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของบล๊อคโคพอลิเมอร์จากพอลินอร์บอร์ทีนที่มีอนุพันธ์ของกรดอะมิโนและพอลิ(แลคติค แอซิด) ดูรายละเอียด
337. 2555 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพจากข้าวก่ำเพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวไทย ดูรายละเอียด
338. 2555 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวจากข้าวก่ำเสริมใยอาหารจากเปลือกในส้มโอ ดูรายละเอียด
339. 2555 การผลิตเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซิเลสจากเชื้อจุลินทรีย์ในปริมาณมากด้วยลำไยล้นตลาด และกระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชันเพื่อผลิตฟีนิลแอซีติลคาร์บินอล ดูรายละเอียด
340. 2555 การพัฒนาการผลิตชาเขียวด้วยวิธีอบแห้งแบบอินฟราเรดภายใต้สภาวะสุญญากาศ และ ปั๊มความร้อน เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี ดูรายละเอียด
341. 2555 การโคลนยีนไฟเตสทนร้อนจากแอคติโนไมซีท Thermomonospora sp. RC7 เพื่อพัฒนาการผลิตเอนไซม์ไฟเตสทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศ ดูรายละเอียด
342. 2555 การผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากวัสดุเศษเหลือของการแปรรูปข้าวและการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
343. 2555 การผลิตแคโรทีนอยด์จากยีสต์โดยใช้กลีเซอรอลเหลือทิ้งที่ได้จากการผลิตไบโอดีเซลเป็นแหล่งคาร์บอน ดูรายละเอียด
344. 2555 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชาเขียวเข้มข้นเสริมสารสกัดขมิ้นชันเพื่อบรรเทาภาวะออกซิเดทีฟสเตรสและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย ดูรายละเอียด
345. 2555 การยืดอายุการเก็บรักษาแคบหมูด้วยฟิล์มแอคทีฟที่รับประทานได้ ดูรายละเอียด
346. 2555 การศึกษาระบบการจัดการลอจิสติกส์ของสินค้าเกษตรกรรมในภาคเหนือ ดูรายละเอียด
347. 2555 ผลของกัมจากผลสำรองต่อค่าดัชนีน้ำตาลของขนมปังในอาสาสมัครไทยสุขภาพดี ดูรายละเอียด
348. 2555 การหาปริมาณกรดฟอร์มิกและกรดอะซิติกภายใต้สภาวะหม้อนึ่งอัดไอจากของเสียอาหารที่แยกเอาโปรตีนและไขมันออก ดูรายละเอียด
349. 2555 การศึกษาสกัดโปรตีนจากรำข้าวที่ผ่านการสกัดน้ำมันเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ดูรายละเอียด
350. 2555 ผลของผลต่างความดันที่มีต่อความต้านทานในการกรอง และสมบัติบางประการของน้ำเต้าหู้ ดูรายละเอียด
351. 2555 การพัฒนาเครื่องดื่มสตรอเบอรี่เข้มข้นเสริมสารสกัดจากลำไย ดูรายละเอียด
352. 2555 โครงการจัดทำระบบฐานความรู้ด้านงานวิจัยของคณาจารย์คณะอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
353. 2555 การผลิตเปปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากโปรตีนรำข้าวเพื่อการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
354. 2555 การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชแบบเร็วโดยอาศัยพลังงานไมโครเวฟ ดูรายละเอียด
355. 2555 การประยุกต์เทคโนโลยีเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นผสมในการผลิต GABA จากเศษผักหลังการตัดแต่ง: แนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์กิมจิดัดแปลงเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
356. 2555 การใช้สารสกัดชาเขียวป้องกันการเกิดออกซิเดชันในผลิตภัณฑ์อาหารเช้าธัญชาติจากรำข้าว ดูรายละเอียด
357. 2555 การเพิ่มมูลค่าผลิตผลพืชผักและผลไม้เศรษฐกิจเพื่อพัฒนาการเกษตรบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ดูรายละเอียด
358. 2555 การปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์สตรอเบอรี่ในน้ำเชื่อมเข้มข้นเพื่อส่งโรงงานทำโยเกิรต์ ดูรายละเอียด
359. 2555 การผลิตโปรตีนจากขนไก่โดยคีราติเนสจาก Bacillus subtilis G8 เพื่อการผลิตซังข้าวโพดหมัก ดูรายละเอียด
360. 2555 ผลของสารปรับปรุงเนื้อสัมผัสและสารเคลือบผิวที่บริโภคได้ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของเนื้อลิ้นจี่สดพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
361. 2555 GREENHELL (EN FERVERT) ดูรายละเอียด
362. 2555 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สังขยาใบเตยชนิดผง ดูรายละเอียด
363. 2555 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำเพิ่มมูลค่าเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
364. 2555 Synthesis, Characterization and Properties Testing of Bio-based scaffolds from Polynorbornene functionalized Amino Acid and Polylactic acid ดูรายละเอียด
365. 2555 แผนงานวิจัยการใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท ดูรายละเอียด
366. 2555 การผลิตผงสีแอนโธไซยานินจากน้ำที่เหลือในการต้มข้าวโพดสีม่วง ดูรายละเอียด
367. 2555 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวและอาหารเช้าธัญชาติผสมลำไยโดยกระบวนการเอกซ์ทรูชัน ดูรายละเอียด
368. 2554 การผลิตผงเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลสหลายระดับความบริสุทธิ์จากเซลล์จุลินทรีย์ผลิตเอทานอลที่ใช้ลำไยสดและลำไยอบแห้งล้นตลาดเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน ดูรายละเอียด
369. 2554 นวัตกรรมดัดแปลงเนื้อสัมผัสและกำจัดจุลินทรีย์ของซูชิกุ้งด้วยความดันสูงยิ่งเพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่งออก ดูรายละเอียด
370. 2554 การลดระยะเวลาการหมักน้ำปลาจากเครื่องในปลาแมคเคอเรล โดยใช้เอนไซม์โบรมิเลนจากน้ำสัปปะรด ดูรายละเอียด
371. 2554 ความสัมพันธ์ระหว่างสารออกฤทธิ์ทางชีววิทยาและประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของชมพู่มะเหมี่ยวและฟักข้าวที่ประเมินโดยวิธี FRAP, TEAC และ DPPH ดูรายละเอียด
372. 2554 การสังเคราะห์และวิเคราะห์การเกิดเป็นเจลของพอลิเมอร์ผสมจากไคโตซาน อนุพันธ์ของเซลลูโลสและสารดูดซับ ศึกษาการเกิดเจลและการนำไปใช้ ดูรายละเอียด
373. 2554 การใช้เทคโนโลยีออสโมติกในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สตรอเบอรี่สูตรลดน้ำตาลที่ไม่เจือสีและไม่แต่งกลิ่นรสแยมสตรอเบอรี่ไส้ผลไม้จากสตรอเบอรี่และสตรอเบอรี่ทอปปิ้งและการประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
374. 2554 การใช้เทคโนโลยีออสโมติกในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สตรอเบอรี่สูตรลดน้ำตาลที่ไม่เจือสีและไม่แต่งกลิ่นรสแยมสตรอเบอรี่ไส้ผลไม้จากสตรอเบอรี่และสตรอเบอรี่ทอปปิ้งและการประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
375. 2554 การผลิตไอโซฟลาโวน (ไดซีนและเจนีสทีน) จากถั่วชีวภาพ ระยะที่ 2 ดูรายละเอียด
376. 2554 การศึกษาแนวปฏิบัติที่เหมาะสมในการบันทึกเวลาเรียนของนักศึกษาที่เรียนวิชาศึกษาทั่วไปในสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
377. 2554 การศึกษาผลของระดับการสีข้าวและสายพันธุ์ข้าวไทยที่มีต่อศักยภาพของรำข้าวเพื่อใช้ในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ดูรายละเอียด
378. 2554 การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริหารงานแบบรวมศูนย์ตามการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
379. 2554 ต้นทุนในการจัดการศึกษาของคณะอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2553 ดูรายละเอียด
380. 2554 การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบการเบิกวัสดุออนไลน์ e-store ของคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
381. 2554 การศึกษาความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่พัสดุ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เกี่ยวกับการจัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ดูรายละเอียด
382. 2554 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักแผ่นอบกรอบจากเศษผัก ดูรายละเอียด
383. 2554 การผลิตไซนารินในเชิงพาณิชย์จากอาติโช๊คและการประยุกต์ใช้ ดูรายละเอียด
384. 2554 การออกแบบผังโรงงานและกรรมวิธีการผลิตน้ำพริกข้าวซอยบรรจุถุงเพาซ์ที่ได้รับมาตรฐานสากล ดูรายละเอียด
385. 2554 การผลิตน้ำมะเกี๋ยงผสมน้ำผลไม้แบบเข้มข้นพร้อมดื่มโดยเทคนิคการทำให้เข้มข้นแบบแช่เยือกแข็ง ดูรายละเอียด
386. 2554 การผลิตน้ำผลไม้เข้มข้นพร้อมดื่มจากน้ำมะเกี๋ยงผสมน้ำหม่อนโดยเทคนิคการระเหยภายใต้สุญญากาศ ดูรายละเอียด
387. 2554 โครงการการพัฒนาการผลิตฟรุกโตโอลิโกแซ็กคาไรด์ผงจากน้ำเชื่อมลำไยด้วยวิธีทางเอนไซม์ ดูรายละเอียด
388. 2554 โครงการการทวนสอบเทคโนโลยีการผลิตน้ำตาลลำไยและคุณสมบัติเชิงคุณภาพ สุขภาพและศักยภาพเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
389. 2554 การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพและสารเคมีมูลค่าสูงจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรโดยกระบวนการผลิตแบบปราศจากของเสียแบบครบวงจร ดูรายละเอียด
390. 2554 โครงการวิจัยและพัฒนาวัสดุเพื่อการประยุกต์ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและการแพทย์ ดูรายละเอียด
391. 2554 การผลิตผลิตภัณฑ์ทาขนมปังจากข้าวก่ำ ดูรายละเอียด
392. 2554 การพัฒนาฟิล์มฐานโปรตีนถั่วเหลืองด้วยคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสและนาโนเคลย์ ดูรายละเอียด
393. 2554 การออกแบบและทดสอบเครื่องจักรต้นแบบสายการผลิตน้ำตาลลำไยตามโครงการโรงงานต้นแบบถ่ายทอดเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (น้ำตาลลำไย) ดูรายละเอียด
394. 2554 โครงการวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับข้าวก่ำไทย ดูรายละเอียด
395. 2554 การเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรอาหารภาคเหนือ:ไส้อั่ว ดูรายละเอียด
396. 2554 การผลิตชาสมุนไพรผักเชียงดาด้วยเครื่องอบแห้งลมร้อนของกลุ่มเกษตรกรอำเภอเมืองเวียงหนองร่อง จ.ลำพูน ดูรายละเอียด
397. 2554 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเช้าธัญชาติกลิ่นรสชาเขียวจากรำข้าวเจ้าโดยใช้กระบวนการเอกซ์ทรูชัน ดูรายละเอียด
398. 2554 ชุดโครงการ การใช้ประโยชน์จากมะเกี๋ยงเป็นอาหารสุขภาพและเครื่องสำอางค์ฯ โครงการย่อย 3 การคัดเลือกสายพันธุ์ยีสต์ที่เหมาะสมต่อการผลิตไวน์มะเกี๋ยง ดูรายละเอียด
399. 2554 การแยกเวย์โปรตีนโดยเทคนิคการตั้งฟองแบบต่อเนื่อง ดูรายละเอียด
400. 2554 คุณภาพเนื้อ กลิ่น และรสชาติของไก่ประดู่ห่างดำเชียงใหม่ 1 ดูรายละเอียด
401. 2554 การสร้างอัตลักษณ์ของไก่ประดู่หางดำ เชียงใหม่ 1 ดูรายละเอียด
402. 2554 การผลิตโปรตีนจากขนไก่โดยคีราติเนสจาก Bacillus aubtilis G8 เพื่อการผลิตซังข้าวโพดหมัก ดูรายละเอียด
403. 2554 การแปรรูปผลิตภัณฑ์ครีมน้ำผึ้ง ดูรายละเอียด
404. 2553 การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาเขียวขมิ้นชันเพื่อเป็นอาหารเสริมสร้างสุขภาพ ดูรายละเอียด
405. 2553 กระบวนการต้นแบบสำหรับการผลิตเอทานอลและเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลสในรูปเซลล์รวมจากลำไยอบแห้งค้างคลังในระดับ 100 ลิตร ดูรายละเอียด
406. 2553 เครื่องดื่มบำรุงสุขภาพสกัดจากพืชเสริมโปรไบโอติกส์ ดูรายละเอียด
407. 2553 การผลิตไอโซฟลาโวน (ไดซีนและเจนีสทีน) จากถั่วชีวภาพ ดูรายละเอียด
408. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากข้าวก่ำโดยใช้เอนไซม์จากมอลท์ข้าวโพด ดูรายละเอียด
409. 2553 การผลิตไซโลโอลิโกแซ็กคาไรด์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยใช้เอนไซม์ไซลาเนสที่ผลิตจากเชื้อ Streptomyces thermovulgaris TISTR1948 ดูรายละเอียด
410. 2553 การผลิตแคโรทีนอยด์จากยีสต์โดยใช้กลีเซอรอลเหลือทิ้งที่ได้จากการผลิตไบโอดีเซล ดูรายละเอียด
411. 2553 การใช้ประโยชน์และการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรและของเหลือทิ้งทางอุตสาหกรรมเกษตร ดูรายละเอียด
412. 2553 การลดการดูดซับน้ำมันและการยืดอายุการเก็บแคบหมูโดยกระบวนการทอดแบบสุญญากาศ ดูรายละเอียด
413. 2553 อิทธิพลของสีอะโซในการผลิตกรดแลคติคในระบบการหมักแบบเปิดโดย micro-aerobic Sequencing Batch Reactor (micro-aerobic SBR) จากน้ำเวย์ด้วยเซลล์แบคทีเรียแลคติคแขวนลอย ดูรายละเอียด
414. 2553 อิทธิพลของกรดโอเลอิกและคาร์บอกซีเมทิลไคโตซานที่มีต่อสมบัติเชิงกลและสมบัติการซึมผ่านไอน้ำของฟิล์มโปรตีนถั่วเหลือง ดูรายละเอียด
415. 2553 โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตน้ำพริกข้าวซอยบรรจุถุงพลาสติกทนร้อนชนิดอ่อนตัว ดูรายละเอียด
416. 2553 ผลของการอบแห้งอาติโช๊คด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องอบแห้งลมร้อนแบบถาดและเครื่องอบแห้งไมโครเวฟสุญญากาศต่อปริมาณคลอโรฟิลล์และกิจกรรมของสารต้านอนุมูลอิสระ ดูรายละเอียด
417. 2553 การแสดงออกของโปรตีน zinc finger ที่ออกแบบให้จับได้กับ DNA ของ HIV ใน Pichia pastoris ; ผลของโปรโมเตอร์, ชนิดของการแสดงออก , จำนวนยีนและสภาวะในการหมัก ดูรายละเอียด
418. 2553 การพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตข้าวเกรียบด้วยเทคนิคไมโครเวฟ ดูรายละเอียด
419. 2553 การผลิตไซนารินในเชิงพาณิชย์จากอาติโช๊คและการประยุกต์ใช้ ดูรายละเอียด
420. 2553 การแสดงออกของโปรตีน zinc finger สังเคราะห์ที่จับได้กับรหัสพันธุกรรม (DNA) ของ HIV ใน Pichia pastoris ดูรายละเอียด
421. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากสาหร่ายสไปรูลิน่า ดูรายละเอียด
422. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์นมผึ้งอัดเม็ด ดูรายละเอียด
423. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สเปรย์ระงับกลิ่นปากที่มีส่วนผสมของพรอพโพลิส ดูรายละเอียด
424. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเตี๋ยวลดดัชนีน้ำตาล ดูรายละเอียด
425. 2553 การบำบัดน้ำเสียจากตลาดสดประตูเชียงใหม่โดยถังหมักลูกผสม ดูรายละเอียด
426. 2553 การพัฒนากระบวนการผลิตชีอิ๊วเห็ดหอมเพื่อปรับปรุงคุณภาพกลิ่น ดูรายละเอียด
427. 2553 การใช้โปรตีน/ไฮโดรคอลลอยด์ในการปรับปรุงคุณภาพขนมปังขาไก่แป้งข้าวเจ้าการใช้โปรตีน/ไฮโดรคอลลอยด์ในการปรับปรุงคุณภาพขนมปังขาไก่แป้งข้าวเจ้า ดูรายละเอียด
428. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เยลลี่นม ดูรายละเอียด
429. 2553 การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูยอลดไขมัน ดูรายละเอียด
430. 2553 ผลการเคลือบผิวด้วยไคโตซานต่อการเกิดโรคแอนแทรกโนส โรคเหี่ยวเหลืองและคุณภาพผลผลิตระยะหลังการเก็บเกี่ยวของพริกหวาน ดูรายละเอียด
431. 2553 การผลิตผลิตภัณฑ์คล้ายเทมเป้ชนิดใหม่จากการหมักกากถั่วเหลือง ดูรายละเอียด
432. 2553 การแปรรูปเครื่องดื่มน้ำผึ้งผงแคปซูลสมุนไพรไทย ดูรายละเอียด
433. 2553 การพัฒนาแยมน้ำผึ้งเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
434. 2553 การประยุกต์ใช้วัสดุธรรมชาติบำบัดน้ำเสียจากแหล่งชุมชนในสภาวะไร้อากาศโดยถังหมักลูกผสม ดูรายละเอียด
435. 2553 ผลของสารดูดซับเอทิลีนต่อคุณสมบัติฟิล์มคาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลสจากฟางข้าว ดูรายละเอียด
436. 2553 ผลของอัตราส่วนระหว่างฟางข้าวและเปลือกข้าวโพดต่อคุณสมบัติของฟิล์มคาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลส ดูรายละเอียด
437. 2553 การใช้ประโยชน์สารสกัดจากมังคุดเพื่อพัฒนาฟิล์มฟางข้าวยับยั้งเชื้อแอนแทรกโนส ดูรายละเอียด
438. 2553 ผลของพารามิเตอร์ทางวัตถุดิบต่อการผลิตอาหารเช้าธัญชาติจากข้าวก่ำโดยกระบวนการเอ็กซ์ทรูชัน ดูรายละเอียด
439. 2553 ผลของออสโมติกดีไฮเดรชันและสุญญากาศต่อคุณภาพของเนื้อมะม่วงแช่แข็ง ดูรายละเอียด
440. 2553 การใช้ลำไยอบแห้งทั้งเปลือกในการผลิตเอทานอล ดูรายละเอียด
441. 2553 สมบัติทางเคมีกายภาพและลักษณะทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวข้าวเหนียวสุกเร็วเสริมสารอาหารจากนมโคกลิ่นรสชาเขียว : ผลของการทำแห้งแบบลมร้อนเปรียบเทียบกับการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ดูรายละเอียด
442. 2553 คุณภาพของข้าวกล้องดัดแปรเนื้อสัมผัสด้วยเอนไซม์และไมโครเวฟ ดูรายละเอียด
443. 2553 อิทธิพลของสารเคลือบจากคาร์บอกซีเมททิลไคโตซานในด้านคุณภาพและอายุการเก็บของมะม่วง ดูรายละเอียด
444. 2553 การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการผลิตเอทานอลจากสารสกัดลำไยอบแห้งในสภาวะตั้งนิ่งของ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 ดูรายละเอียด
445. 2553 การผลิต R-phenylacetylcarbinol ด้วยเซลล์ รวมของ Candida utilis ในระบบไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นของเหลวสองชั้นที่ใช้สารละลายฟอสเฟตเข้มข้นเป็นบัฟเฟอร์ ดูรายละเอียด
446. 2553 จลนพลศาสตร์การผลิตเอทานอลและ PAC ไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นจากสารสกัดลำไยอบแห้ง ดูรายละเอียด
447. 2553 การแยกเวย์โปรตีนจากน้ำเวย์โดยการเทคนิคสร้างฟองแบบต่อเนื่อง ดูรายละเอียด
448. 2553 การพัฒนาโรงงานต้นแบบน้ำมันงาที่สมบูรณ์ ณ ศูนย์ศิลปาชีพโครงการในพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮ่องสอนเพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมและเพื่อเพิ่มศักยภาพในการส่งออก ดูรายละเอียด
449. 2553 โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี-ร่วมอุตสาหกรรม รุ่นที่ 13 ดูรายละเอียด
450. 2553 การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตน้ำพริกข้าวซอยบรรจุถุงพลาสติกทนร้อนชนิดอ่อนตัว ดูรายละเอียด
451. 2553 การเพิ่มมูลค่าเนื้อลำไยสดและเนื้อลำไยอบแห้งเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ ( Value added of fresh and dried longan flesh for health food products) ดูรายละเอียด
452. 2553 การเพิ่มมูลค่าผลิตผลพืชผัก และผลไม้เศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาการเกษตรบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ดูรายละเอียด
453. 2553 การประยุกต์เทคโนโลยีการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศร่วมกับบรรจุภัณฑ์แอคทีฟเพื่อเพิ่มคุณภาพผักบนพื้นที่สูง ดูรายละเอียด
454. 2552 กระบวนการ R-Phenylacetylcarbinol ไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นแบบสองเฟสที่ใช้ตัวเร่งปฏิกริยาชีวภาพชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า ดูรายละเอียด
455. 2552 กระถางย่อยสลายได้จากเปลือกมะขาม ดูรายละเอียด
456. 2552 การพัฒนาข้าวกล้องดัดแปรเนื้อสัมผัสและการทำให้คงตัวด้วยไมโครเวฟ ดูรายละเอียด
457. 2552 การพัฒนากรรมวิธีการผลิตชาเขียวโดยใช้เทคโนโลยีไมโครเวฟระดับอุตสาหกรรมเพื่อลดการสูญเสีย สารแอนติออกซิแดนท์ ดูรายละเอียด
458. 2552 การผลิตเอกซ์โซโพลีแซกคาไรด์โดยเชื้อ Lactobacillus confusus CMU 198 โดยใช้น้ำมะพร้าวเป็นวัตถุดิบทดแทน : การหาสูตรอาหารและสภาวะการหมักที่เหมาะสม ดูรายละเอียด
459. 2552 การเพิ่มมูลค่าข้าวเหนียวโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวสุกเร็วเสริมโปรตีนเพื่อสุขภาพ ดูรายละเอียด
460. 2552 การพัฒนาเซนเซอร์ชีวภาพจากเอนไซม์แลคเคสสำหรับการตรวจวัดสารต้านอนุมูลอิสระประเภทฟีนอลในอาหาร ดูรายละเอียด
461. 2552 การใช้กากเนื้อลำไยอบแห้งปราศจากน้ำตาลโมเลกุลสายสั้นเป็นแหล่งอาหารคาร์บอนในการผลิตเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลส และ R-phenylacetylcarbinol (R-PAC) ดูรายละเอียด
462. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวสมุนไพรกึ่งสำเร็จรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวไทย ดูรายละเอียด
463. 2552 ผลของการบรรจุแบบดัดแปลงสภาพบรรยากาศสมดุลต่ออายุการเก็บรักษาหน่อไม้หวานพันธุ์หม่าจูแปรรูปพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
464. 2552 แผนงานวิจัยผลิตภัณฑ์อาหารและยาจากใบบัวบกที่ได้รับการคัดเลือกสายพันธุ์เพื่อเสริมศักยภาพของอุตสาหกรรมขนาดกลาง (SMEs) ประกอบด้วย 6 โครงการย่อย ดูรายละเอียด
465. 2552 การผลิตไซโคลเดกซ์ตรินจากแป้งชนิดต่างๆ และศึกษาคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติกของไซโคลแดกซ์ตริน ดูรายละเอียด
466. 2552 การประยุกต์ใช้แนวทางตามพระราชดำริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการแก้ไขปัญหาน้ำนมดิบล้นตลาดในช่วงฤดูร้อนของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมและสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมในภาคเหนือตอนบน ดูรายละเอียด
467. 2552 การปรับปรุงกระบวนการผลิตคาร์บอกซีเมทธิลเซลลูโลสจากฟางข้าวเพื่อการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
468. 2552 กระบวนการขึ้นรูปและสมบัติของโฟมที่เตรียมได้จากพลาสติกชีวภาพ PLA (Polylactic acid) ดูรายละเอียด
469. 2552 สมบัติของน้ำทิ้งจากคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เพื่อการวางแผนจัดการในอนาคต ดูรายละเอียด
470. 2552 การพัฒนากระบวนการผลิตหน่อไม้ดองโดยใช้กล้าเชื้อบริสุทธิ์ตั้งต้น ดูรายละเอียด
471. 2552 ปัญหาการบริหารงานของคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
472. 2552 ผลของกัมจากผลสำรองต่อสมบัติทางเคมีกายภาพของผลิตภัณฑ์จำลองจากแป้งและสตาร์ชชนิดต่างๆ ดูรายละเอียด
473. 2552 การวิเคราะห์สารป้องกันปลวกแบบธรรมชาติจากขี้เลื่อยไม้สัก ดูรายละเอียด
474. 2552 การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ขนมอบโดยฟิลม์ต้านจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ ดูรายละเอียด
475. 2552 การพัฒนาและปรับปรุงสมบัติของโฟมแป้งโดยการผสมเส้นใยธรรมชาติเพื่อการใช้ทดแทนโฟมพลาสติก ดูรายละเอียด
476. 2552 การพัฒนาแยมเสาวรสโดยใช้เพกทินจากเปลือกเสาวรส (Development of Passion Fruit Jam Using Passion Fruit Rind) ดูรายละเอียด
477. 2552 การปรับปรุงกระบวนการผลิตและสมบัติของนมผึ้งบริสุทธิ์อัดเม็ด (Process Improvement and Properties of Properties of Pure Royal Jelly Tablets) ดูรายละเอียด
478. 2552 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ชีสคุณภาพแบบครัวเรือน ดูรายละเอียด
479. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นไร้มันโดยใช้เทคนิคไมโครเวฟ ดูรายละเอียด
480. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหร่ายไกแผ่น ดูรายละเอียด
481. 2552 ผลของบรรจุภัณฑ์ที่มีต่ออายุการเก็บของผลิตภัณฑ์ชุดเครื่องต้มยำชนิดแห้งพร้อมปรุง ดูรายละเอียด
482. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สตรอเบอรี่แต่งหน้าอาหารที่ไม่เจือสีและไม่แต่งกลิ่นรส ดูรายละเอียด
483. 2552 สภาวะที่เหมาะสมในการสเตอริไรซ์เนื้อปลาเจบรรจุกระป๋องพร้อมซอส ดูรายละเอียด
484. 2552 การผลิตครีมน้ำผึ้งไทยและอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษา ดูรายละเอียด
485. 2552 อุณหภูมิและความชื้นของการเก็บรักษาต่อจลนพลศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะขามแก้ว ดูรายละเอียด
486. 2552 การพัฒนาปรับปรุงสูตรและกระบวนการผลิตพริกน้ำส้มผสมมะเขือเทศ ดูรายละเอียด
487. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมีน้ำผึ้งกลิ่นมะนาว ดูรายละเอียด
488. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องกึ่งสำเร็จรูปผสมสมุนไพร ดูรายละเอียด
489. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวสมุนไพร ดูรายละเอียด
490. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมูยอผสมโปรตีนถั่วเหลือง ดูรายละเอียด
491. 2552 การพัฒนาและยืดอายุเก็บรักษาลูกอมสตรอเบอรี่ ดูรายละเอียด
492. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากน้ำเหลือทิ้งในกระบวนการผลิตเนยแข็ง ดูรายละเอียด
493. 2552 คุณภาพทางเคมีและกายภาพและการจัดร่างมาตรฐานของน้ำผึ้งดอกลำไย ดูรายละเอียด
494. 2552 การแปรรูปข้าวเหนียวสุกเร็วกลิ่นรสชาเขียว ดูรายละเอียด
495. 2552 การแปรรูปขนมขบเคี้ยวกลิ่นรสชาเย็นสูตรโบราณ ดูรายละเอียด
496. 2552 ผลของไคโตซานต่อกิจกรรมของเอนไซม์ chitosanase และ b1,3 -glucanase ในพริก ดูรายละเอียด
497. 2552 การพัฒนาน้ำส้มผงอัดเม็ด ดูรายละเอียด
498. 2552 การประยุกต์ใช้รังไหมบำบัดน้ำเสียจากโรงงานนมในสภาวะไร้อากาศโดยถังหมักลูกผสม ดูรายละเอียด
499. 2552 การผลิตฟิลม์คาร์บอกซีเมทิลไคโตซานและคุณสมบัติทางฟิล์ม ดูรายละเอียด
500. 2552 การผลิตเซลล์รวมที่ใช้อาหารเลี้ยงเชื้อเป็นสารสกัดจากจากลำไยอบแห้งหมดอายุเท่านั้นในสภาวะตั้งนิ่งสำหรับ R-Phenylacetylcarbinol ไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น ดูรายละเอียด
501. 2552 การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์แบบกะในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีแหล่งอาหารเป็นโมลาซเท่านั้นและการผลิต R-PAC จากเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลส ดูรายละเอียด
502. 2552 การใช้ลำไยอบแห้งที่หมดอายุเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อในการผลิตเซลล์รวมสำหรับกระบวนการ R-phenylacetylcarbinol ไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่น โดยมีการตรวจติดตามค่า pH ด้วยหัววัดแบบ Ion Sensitive Field Effect Transistor (ISFET) ดูรายละเอียด
503. 2552 การเปรียบเทียบการใช้สารแอนทราควิโนนทางการค้าและจากรากต้นยอในกระบวนการผลิตเยื่อกระดาษสาแบบโซดา ดูรายละเอียด
504. 2552 การใช้ประโยชน์ผงเปลือกถั่วลิสงและผงแกลบในลักษณะสารปรับปรุงความแข็งแรงในการผลิตแผ่นใยฟางข้าวอัด ดูรายละเอียด
505. 2552 การผลิตฟิลม์คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากเยื่อฟางข้าวแบบโซดาแอนทราควิโนน ดูรายละเอียด
506. 2552 การจำลองการสกัดโพแทสเซียมไบคาร์โบเนตออกจากเม็ดพอลิเมอร์ด้วยน้ำแบบไหลสวนทางต่อเนื่องด้วยการสกัดแบบกะ ดูรายละเอียด
507. 2552 จลนพลศาสตร์และการลดเวลาในการอบแห้งข้าวหอมมะลิด้วยเทคนิคสปาเต็ดเบดโดยใช้อนุภาคเฉื่อย ดูรายละเอียด
508. 2552 การใช้เนื้อลำไยอบแห้งในการผลิตเอทานอล ดูรายละเอียด
509. 2552 การใช้สารสกัดลำไยอบแห้งเพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารในการเพาะเลี้ยง Pichia pastoris ดูรายละเอียด
510. 2552 การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดขนมปังแช่เยือกแข็งชนิดดัชนีน้ำตาลต่ำที่มีกัมจากผลสำรอง ดูรายละเอียด
511. 2552 การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน ภายใต้ชุดโครงการวิจัยเรื่อง "การใช้ที่ดินและการพัฒนาชนบทบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน , The Upland Program" (ระยะทิ่ 3) ดูรายละเอียด
512. 2552 การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเอนไซม์ไฟเตสและไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลสจากเศษของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ของบริษัทแม่ทาพีดีจำกัด ดูรายละเอียด
513. 2552 โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหร่ายทะเลปรุงรส ดูรายละเอียด
514. 2552 การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์และการตรวจติดตามค่า pH ด้วยหัววัดแบบ Ion Sensitive Field Effect Transistor (ISFET) สำหรับการผลิตเอทานอลจากสารสกัดลำไยอบแห้งในสภาวะตั้งนิ่งของ Saccharomyces cerevisiae TISTR ดูรายละเอียด
515. 2552 พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมต่อการผลิตเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ ดูรายละเอียด
516. 2552 การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากดอกจำปาและการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ชาผงกลิ่นดอกจำปาสำเร็จรูป ดูรายละเอียด
517. 2551 โครงการอิทธิพลของความเข้มข้น อุณหภูมิและการเติมสารมอลโตเดกซ์ตรินที่มีต่อความหนืดของน้ำลำไย ดูรายละเอียด
518. 2551 โครงการผลของกระบวนการสเตอร์ริไรซ์ต่อคุณสมบัติทางเคมีกายภาพและประสาทสัมผัสของเนื้อปลาเจบรรจุในซองฆ่าเชื้อได้และกระป๋อง ดูรายละเอียด
519. 2551 โครงการกระบวนการผลิตขนมจีนเสริมใยอาหารโดยใช้เครื่องเอ็กซ์ทรูเดอร์แบบสกรูเดี่ยว ดูรายละเอียด
520. 2551 โครงการลดความชื้นในปลาชะโดโดยใช้สารละลายออสโมติกร่วมกับการใช้ลมร้อน ดูรายละเอียด
521. 2551 โครงการผลของอุณหภูมิที่มีต่อซอฟชันไอโซเทอมของความชื้นในผลิตภัณฑ์ปลาชะโดสวรรค์ ดูรายละเอียด
522. 2551 โครงการประยุกต์ใช้กระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นแบบสองเฟสในการผลิต PAC ด้วยจลินทรีย์ที่ใช้ลำไยอบแห้งเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน ดูรายละเอียด
523. 2551 โครงการผลิต เอทานอลและกรดอินทรีย์จากลำไยอบแห้ง ดูรายละเอียด
524. 2551 โครงการผลิต R-phenylacetylcarbinolและสารผลิตภัณฑ์ข้างเคียงด้วยลำไยอบแห้งในระบบของเหลวเฟสเดียว ดูรายละเอียด
525. 2551 โครงการพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิตลูกอมลำไย ดูรายละเอียด
526. 2551 โครงการพัฒนาคุณภาพแยมสตรอเบอรี่ ดูรายละเอียด
527. 2551 โครงการพัฒนาลูกอมพริกหวานชนิดแข็ง ดูรายละเอียด
528. 2551 การใช้คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากเปลือกมะละกอในการเคลือบผิวผลไม้ ดูรายละเอียด
529. 2551 การผลิตสารดูดซับเอทิลีนจากไดอะทอไมท์ ดูรายละเอียด
530. 2551 การศึกษากระบวนการผลิตและคุณสมบัติของวัสดุร่วมจากไม้ยูคาลิบตัสที่มีสารดูดซับเอทิลีนเป็นองค์ประกอบ ดูรายละเอียด
531. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์รอยัลเยลลี่โดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ดูรายละเอียด
532. 2551 การใช้ลำไยอบแห้งที่หมดอายุในการผลิตสารเคมีเพื่อการค้า ดูรายละเอียด
533. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์หน่อไม้อบแห้งโดยใช้การทำแห้งโดยใช้การทำแห้งแบบออสโมติกร่วมกับการอบแห้งเชิงกล ดูรายละเอียด
534. 2551 การผลิตข้าวขาวเคลือบสารให้ความหอม 2-Acetyl-1Pyrroline ด้วยเทคนิคฟลูอิดไดเซชั่นเพื่อบรรจุซองรีทอร์ทเพาซ์ ดูรายละเอียด
535. 2551 ชุดโครงการน้ำพริกหนุ่มที่ผลิตจากพันธุ์พริกปรับปรุงแปรรูปโดยแช่เยือกแข็งด้วยอัตราเร็วสูง ต้นทุนต่ำ เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี (2 โครงการย่อย) ดูรายละเอียด
536. 2551 การผลิตไซโคลเดกซ์ตรินจากแป้งต่างๆและการประยุกต์ใช้สำหรับการกักเก็บกลิ่น ดูรายละเอียด
537. 2551 การพัฒนาการผลิตแป้งลูกตาลหมักโดยเทคนิคเชื้อบริสุทธิ์และการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ดูรายละเอียด
538. 2551 แนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำนมดิบของภาคเหนือตอนบน : การแปรรูปผลิตภัณฑ์นมเพื่อการเพิ่มมูลค่า ดูรายละเอียด
539. 2551 ผลิตภัณฑ์ลูกกวาดนมเพิ่มมูลค่าโดยการผสมสารสกัดจากสมุนไพรไทย ดูรายละเอียด
540. 2551 ชุดโครงการน้ำผักและน้ำผลไม้ผงเพื่อสุขภาพโดยใช้ต้นทุนต่ำสำหรับผู้ประกอบการ SMEs (3 โครงการย่อย) ดูรายละเอียด
541. 2551 ชุดโครงการแก้ไขปัญหาน้ำนมดิบของภาคเหนือตอนบน (2 โครงการย่อย) ดูรายละเอียด
542. 2551 การพัฒนาฟิล์มจากข้าวที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อราสำหรับยืดอายุผลิตผลทางการเกษตร ดูรายละเอียด
543. 2551 การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันเม็ดสบู่ดำโดยใช้เอนไซม์ไลเปสตรึงรูป ดูรายละเอียด
544. 2551 การตรวจวัดปริมาณสารต่อต้านอนุมูลอิสระจำพวกฟีนอลโดยใช้เซนเซอร์ไฟฟ้าเคมีโดยเทคนิค think-film ดูรายละเอียด
545. 2551 การผลิตโพลิเมอร์ชีวภาพที่ขับออกนอกเซลล์ จากเชื้อ Burkholder multivorans PSU-AH130 และการประยุกต์ใช้ในการกำจัดโลหะหนักในน้ำเสียซีโอดี ดูรายละเอียด
546. 2551 การหาสภาวะที่เหมาะสมของการผลิตไบโอเซลลูโลสเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม ดูรายละเอียด
547. 2551 การเปรียบเทียบวิธีการสกัดน้ำมันอะโวกาโดโดยวิธีสกัดด้วยตัวทำละลายกับวิธีสกัดด้วยแรงบีบโดยไม่ใช้ความร้อน ดูรายละเอียด
548. 2551 การใช้ประโยชน์เส้นใยปอสาสำหรับพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สิ่งทอ ดูรายละเอียด
549. 2551 โครงการพัฒนาคุณสมบัติกระดาษดูดซับเอทิลีนและยับยั้งการเจริญของเชื้อราเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้ ดูรายละเอียด
550. 2551 โครงการพัฒนาตราสินค้า ฉลากและบรรจุสำหรับผลิตภัณฑ์ของกลุ่มถักทอล้านนา อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
551. 2551 โครงการพัฒนากรรมวิธีการผลิตชาเขียวโดยใช้เทคโนโลยีไมโครเวฟเพื่อรักษาสารแอนตี้ออกซิแดนท์ ดูรายละเอียด
552. 2551 การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าและอายุการเก็บผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งของกลุ่มแปรรูปลำไยบ้านสันป่าเหียง ดูรายละเอียด
553. 2551 การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตและปรับปรุงคุณภาพซังข้าวโพดหมักเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ ดูรายละเอียด
554. 2551 การปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสของมะขามแก้วและการพัฒนามะขามแก้วรสใหม่ ดูรายละเอียด
555. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ทำจากวัสดุเหลือใช้ในการทำอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไม้เพื่อการตกแต่ง ดูรายละเอียด
556. 2551 การยืดอายุการเก็บรักษาปลาส้มทอด ดูรายละเอียด
557. 2551 กระบวนการที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตน้ำลูกเดือย ดูรายละเอียด
558. 2551 ผลของการตกผลึกและการละลายของน้ำผึ้งดอกทานตะวันต่อคุณภาพทางเคมี กายภาพ และประสาทสัมผัส และการป้องกันการตกผลึก ดูรายละเอียด
559. 2551 การพัฒนาเครื่องดื่มน้ำสับปะรดผสมโยเกิร์ต ดูรายละเอียด
560. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชอคโกแลตชาเขียว ดูรายละเอียด
561. 2551 การผลิตคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากวัสดุเศษเหลือทางการเกษตรสำหรับเป็นสารยึดติดเนื้อดินในเซรามิก ดูรายละเอียด
562. 2551 การผลิตและออกแบบบรรจุภัณฑ์จากเปลือกลิ้นจี่อัดแผ่น ดูรายละเอียด
563. 2551 การพัฒนาโฟมแป้งข้าวผสมเส้นใยฟางข้าวเชิงเคมี ดูรายละเอียด
564. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้อั่วแผ่น ดูรายละเอียด
565. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสลูกหม่อน ดูรายละเอียด
566. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อหมูเทียมชุบแป้งทอดแช่เยือกแข็ง ดูรายละเอียด
567. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์กัมมี่ลดน้ำตาลกลิ่นสมุนไพรไทย ดูรายละเอียด
568. 2551 การพัฒนาโยเกิร์ตอุดมสารต้านอนุมูลอิสระจากแก้วมังกร ดูรายละเอียด
569. 2551 ผลของชนิดและปริมาณของเส้นใยอาหารที่มีต่อคุณภาพของไอศครีมนมสด ดูรายละเอียด
570. 2551 ผลของสารทดแทนไขมันประเภทเส้นใยที่มีต่อคุณภาพของไอศครีมนมลดไขมัน ดูรายละเอียด
571. 2551 การอบแห้งก้านเห็ดหอมและการสกัดน้ำมันหอมระเหยซึ่งมีเลนไธโอนีน เป็นส่วนประกอบจากก้านเห็ดหอมแห้ง ดูรายละเอียด
572. 2551 การบำบัดน้ำเสียโรงงานนมในสภาวะไร้อากาศโดยถังหมักลูกผสม ดูรายละเอียด
573. 2551 การหาสูตรอาหารที่เหมาะสมสำหรับการผลิตสารไทอามีนในยีสต์ ดูรายละเอียด
574. 2551 การเปรียบเทียบสมบัติในการดูดน้ำและสมบัติทางเคมีที่มีต่อการเกิดเจลาติไนเซชั่นและการคืนตัวของข้าวเหนียวพันธ์สันป่าตอง กข6 และข้าวเหนียวกล้องหอมแดงที่ผ่านการอบแห้ง ดูรายละเอียด
575. 2551 การพัฒนากระบวนการแช่และอบแห้งสำหรับผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวสุกเร็วโดยการใช้ไมโครเวฟกำลังคลื่นต่ำ ดูรายละเอียด
576. 2551 การเพิ่มมูลค่าข้าวเหนียวโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวกล้องหอมแดงสุกเร็วโดยกระบวนการทำแห้งแบบลมร้อน เปรียบเทียบกับการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ดูรายละเอียด
577. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาราเร่เสริมนัตโตะในเชิงพาณิชย์ ดูรายละเอียด
578. 2551 การลดการสูญเสียนมผึ้งก่อนกระบวนการแปรรูปสำหรับบริษัทสุภาฟาร์มผึ้ง จำกัด ดูรายละเอียด
579. 2551 โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก. รุ่นที่ 9) ดูรายละเอียด
580. 2551 ศึกษากระบวนการแปรรูปและการเก็บรักษามะม่วง ลิ้นจี่ และลำไยสดพร้อมบริโภค ดูรายละเอียด
581. 2551 การพัฒนากระบวนการผลิตมะม่วงกึ่งอบแห้งชนิดหวานระดับธรรมชาติและลิ้นจี่อบแห้งชนิดหวานน้อย โดยไม่ใช้วัตถุเจือปนอาหารกลุ่มเมตาไบซัลไฟต์ จากมะม่วงและลิ้นจี่ทั้งในและนอกฤดูกาล ดูรายละเอียด
582. 2551 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อมะม่วงและลิ้นจี่ผง โดยใช้เทคโนโลยีทำแห้งเยือกแข็งและเทคนิคการลดขนาดที่อุณหภูมิต่ำมาก ดูรายละเอียด
583. 2551 การพัฒนากระบวนการอบแห้งมะม่วงและลิ้นจี่โดยไม่ใช้สารประกอบของซัลเฟอร์ ดูรายละเอียด
584. 2551 น้ำกระเทียมดองชนิดผงโดยการโดยการทำแห้งแบบโฟมแมท ดูรายละเอียด
585. 2551 การใช้ลำไยอบแห้งที่หมดอายุในการผลิตสารเคมีเพื่อการค้า ดูรายละเอียด
586. 2551 การผลิตกล้าเชื้อโยเกิร์ตที่ทนต่อแบคทีรีโอฟาจ ดูรายละเอียด
587. 2551 การปรับปรุงประสิทธิภาพการสกัดสารแทนทราควิโนนจากรากต้นยอด้วยถังอัดความดันไอน้ำและชุดสกัดสารผสมของแข็งด้วยของเหลว ดูรายละเอียด
588. 2551 การผลิตเครื่องดื่มสมุนไพรผสมจากกระชายดำ กระชายเหลืองและเจียวกู้หลาน ดูรายละเอียด
589. 2551 การพัฒนาชาชงกระชายดำกลิ่นผลไม้และน้ำชากระชายดำน้ำผึ้งมะนาว ดูรายละเอียด
590. 2551 การเพิ่มผลผลิตและยกระดับคุณภาพของน้ำลูกเดือยงาดำ ดูรายละเอียด
591. 2551 การผลิตผลึกแห้งน้ำผึ้งสำเร็จรูป ดูรายละเอียด
592. 2551 การสกัดสารให้ความเผ็ดจากพริกสดและการใช้ประโยชน์ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารโดยการแปรรูปเป็นสารปรุงแต่งความเผ็ดชนิดผง ดูรายละเอียด
593. 2551 การผลิต R-PAC ด้วยระบบ two-phase biotransformation จากลําไยอบแห้ง โดยมีการ ตรวจติดตามค่า pH ด้วยหัววัดแบบ Ion Sensitive Field Effect Transistor (ISFET) ดูรายละเอียด
594. 2551 การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิตข้าวโพดหวาน ปี 2550 ดูรายละเอียด
595. 2551 การปรับปรุงคุณสมบัติของฟิล์มที่ย่อยสลายได้โดยเทคนิคพลาสมาอิมเมอร์ชัน ดูรายละเอียด
596. 2551 การใช้ประโยชน์จากธัญพืชและผลไม้ของมูลนิธิโครงการหลวงในการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์มูสลี่ชนิดแท่งแบบไทย ดูรายละเอียด
597. 2551 การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ผัก ผลไม้กรอบเสริมแคลเซียมและสารต้านอนุมูลอิสระจากโรสแมรี่ ดูรายละเอียด
598. 2551 การศึกษาประยุกต์ใช้ฟิล์มแอคทีฟในการบรรจุผลลิ้นจี่ภายใต้หัวข้อการวิจัย : ผลของบรรจุภัณฑ์ถุงพลาสติกต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลลิ้นจี่ ดูรายละเอียด
599. 2551 การสังเคราะห์คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากเปลือกไมยราบยักษ์ ดูรายละเอียด
600. 2551 สารสกัดจากใบเตยหอมชนิดผงที่ผ่านการห่อหุ้มด้วยแคปซูลชนิดอิมัลชั่น ดูรายละเอียด
601. 2551 การพัฒนาปรับปรุงรูปแบบบรรจุภัณฑ์มะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อให้เหมาะสมต่อการส่งออกทางเรือ ดูรายละเอียด
602. 2551 ผลของสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ต่อการทำลายโครงสร้างของเนื้อเยื่อพืชในขั้นตอนการบีบสกัดน้ำมันจากพืชน้ำมัน ดูรายละเอียด
603. 2551 การศึกษาผลขององค์ประกอบน้ำตาลและกรดอินทรีย์ที่มีต่อคุณสมบัติการเกาะติดของผลน้ำลำไยระหว่างการอบแห้งแบบพ่นฝอย ดูรายละเอียด
604. 2551 การเก็บกักกลิ่นรสเทียนอบ ดูรายละเอียด
605. 2550 การปรับปรุงสายพันธุ์ข้าวให้มีคุณค่าทางอาหาร และมีสมบัติที่เหมาะสมในการแปรรูป ดูรายละเอียด
606. 2550 การวิจัยฟิลม์ข้าวปลดปล่อยสารต้านอนุมูลอิสระ ดูรายละเอียด
607. 2550 การวิจัยขนมขบเคี้ยวจากปลายข้าวเสริมโปรตีนและใยอาหาร ดูรายละเอียด
608. 2550 การวิจัยกระบวนการทำอาหารเหลวสำเร็จรูปสำหรับผู้สูงอายุ ดูรายละเอียด
609. 2550 การวิจัยกระบวนการผลิตข้าวสารขึ้นรูปจากปลายข้าว ดูรายละเอียด
610. 2550 โครงการวิจัยการผลิตกลูโคสความบริสุทธิ์สูงจากข้าวเพื่อใช้ในทางการแพทย์ ดูรายละเอียด
611. 2550 การวิจัยการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มที่มีสารอาหารสูงจากข้าวโดยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ ดูรายละเอียด
612. 2550 การวิจัยกระบวนการผลิตอาหารเช้าธัญพืชจากรำข้าว ดูรายละเอียด
613. 2550 การวิจัยการประเมินศักยภาพของเทคโนโลยีการผลิตภัณฑ์จากข้าวในเชิงพาณิชย์เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาคเอกชน ดูรายละเอียด
614. 2550 การศึกษากระบวนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตน้ำลูกเดือยผสมชาเขียวผงโดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่แข็ง ดูรายละเอียด
615. 2550 การผลิตเอทานอลจากลำไยอบแห้ง ดูรายละเอียด
616. 2550 ชุดโครงการแก้ไขปัญหาน้ำนมดิบของภาคเหนือตอนบน (รวม 4 โครงการย่อย) ดูรายละเอียด
617. 2550 การถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ลำไย ดูรายละเอียด
618. 2550 การยืดอายุการเก็บรักษาน้ำส้มพร้อมดื่มโดยการใช้ไนซิน ดูรายละเอียด
619. 2550 ชุดโครงการปรับปรุงพันธุ์พริกเพื่อผลิตน้ำพริกหนุ่มที่มีความเผ็ดคงที่และปราศจากรสขม (รวม 2 โครงการย่อย) ดูรายละเอียด
620. 2550 การเพิ่มมูลค่าให้กับน้ำแครอทโดยการเติมจุลินทรีย์โปรไบโอติกและการสกัดสารแคโรทีนอยด์จากกากในกระบวนการผลิตน้ำแครอท ดูรายละเอียด
621. 2550 การพัฒนาผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตผงจากน้ำนมแพะที่มีการเติมเชื้อโพรไบโอติก ดูรายละเอียด
622. 2550 ปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
623. 2550 การแสดงออกของ single chain variable fragment (scFv) ต่อโมเลกุล CD147 ในยีสต์ Pichia pastoris ดูรายละเอียด
624. 2550 การศึกษาการออกแบบ พัฒนาและทดสอบอุปกรณ์ต้นแบบสำหรับวัดความแข็งของเมล็ดข้าว ดูรายละเอียด
625. 2550 การเพิ่มมูลค่าข้าวเหนียวโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวหุงสุกเร็วเพื่อสุขภาพโดยกระบวนการทำแห้งแบบลมร้อนเปรียบเทียบกับการทำแห้งแบบแช่แข็ง ดูรายละเอียด
626. 2550 การศึกษาทางเคมี กายภาพ ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพร ดูรายละเอียด
627. 2550 การศึกษาการผลิตแก้วมังกรแช่อิ่มอบแห้ง ดูรายละเอียด
628. 2550 การเพิ่มขีดความสามารถในการย่อยฟีนอลความเข้มข้นสูงโดยจุลินทรีย์ที่แยกได้จากแหล่งปนเปื้อนด้วยสารเคมีในบริเวณคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดูรายละเอียด
629. 2550 โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาชะโดสวรรค์ จังหวัดพะเยา ดูรายละเอียด
630. 2550 ความสามารถของเชื้อราเอนโดไฟท์จากยางพาราในการยับยั้งเชื้อรา Phytophthrora sp. ดูรายละเอียด
631. 2550 การผลิตแมนโนโอลิโกแซคคาไรด์จากกากมะพร้าวในทางการค้าเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ (Production of commercialized mannooligosaccharides from copra meal residual for utilization in feed industry) ดูรายละเอียด
632. 2550 การกักเก็บกลิ่นของน้ำมันโรสแมรี่ โดยวิธีการอบแห้งแบบพ่นฝอยและการประยุกต์ใช้กับการยืดอายุการเก็บของมูสลี่บาร์ ดูรายละเอียด
633. 2550 การวิจัยพัฒนาสูตรเครื่องดื่มเจียวกู้หลานชนิดผง โดยวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอย ดูรายละเอียด
634. 2550 การปรับปรุงกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบของมูลนิธิโครงการหลวง ดูรายละเอียด
635. 2550 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการลดอุณหภูมิและคุณภาพของผลสดสตรอเบอรี่ โครงการย่อยที่ 1 หาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการลดอุณหภูมิแบบผ่านอากาศเย็น ดูรายละเอียด
636. 2550 การพัฒนาผลิตภัณฑ์มั่มโดยใช้เทคโนโลยีเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นผสม ดูรายละเอียด
637. 2550 การสกัดวิตามินอีจาก Distillate ของน้ำมันปาล์มโดยใช้ตัวทำละลายที่อุณหภูมิต่ำ ดูรายละเอียด
638. 2550 การผลิตกากถั่วเหลืองหมักและการตรวจสอบคุณภาพเพื่อผลิตเป็นอาหารสัตว์ ดูรายละเอียด
639. 2550 การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของโยเกิร์ตแห้งด้วยการรวมเข้ากับเชื้อจุลินทรีย์ Lactobacillus acidophilus หลังผ่านกระบวนการตรึง ดูรายละเอียด
640. 2550 การเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้เศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาเกษตรที่สูงอย่างยั่งยืน ดูรายละเอียด
641. 2550 การผลิตฟิล์มคาร์บอกซีเมธีลเซลลูโลสจากเศษกระดาษสา ดูรายละเอียด
642. 2550 ผลของฟิล์มผสมคาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลสจากเปลือกมะละกอ/แป้งข้าวโพดต่อคุณสมบัติทางกล ดูรายละเอียด
643. 2550 ผลของกระบวนการฟอกต่อคุณสมบัติทางกลของฟิล์มคาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลสจากเปลือกมะละกอ ดูรายละเอียด
644. 2550 โฟมจากแป้งข้าวผสมฟางข้าวโดยกรรมวิธีการอบ ดูรายละเอียด
645. 2550 การประเมินความสามารถของสารต้านอนุมูลอิสระในลำไยสด ลำไยอบทั้งเปลือก และเนื้อลำไยอบสายพันธุ์ต่างๆ ดูรายละเอียด
646. 2550 การพัฒนาผลิตภัณฑ์บะหมี่กลิ่นใบเตยจากแป้งข้าวเจ้ากลิ่นใบเตย ดูรายละเอียด
647. 2550 ผลของสายพันธุ์ลำไยและสภาวะการพาสเจอร์ไรส์ที่แตกต่างกันต่อความสามารถของสารต้านอนุมูลอิสระในน้ำลำไย ดูรายละเอียด
648. 2550 การศึกษาการเหลือรอดของจุลินทรีย์โปรไบโอติกในนมเปรี้ยวพร้อมดื่มพาสเจอร์ไรท์ ดูรายละเอียด
649. 2550 การปรับปรุงคุณภาพทางด้านสีของกุนเชียงปลาด้วยอังคัก ดูรายละเอียด
650. 2550 การพัฒนาการผลิตไวน์ข้าวแดง ดูรายละเอียด
651. 2550 การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับทำนายเวลาที่ใช้ในการทำแห้ง ดูรายละเอียด
652. 2550 การสกัดสารแอนทราควิโนนจากส่วนต่างๆ ของต้นยอด้วยคลอโรฟอร์ม-เมทานอล-อีเทอร์ ดูรายละเอียด
653. 2550 จลศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสีของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในการผลิตอังคัก ดูรายละเอียด
654. 2550 ผลของอุณหภูมิที่มีต่อมอยเจอร์ซอฟชั่นไอโซเทอมของบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปผสมแป้งข้าวเจ้า ดูรายละเอียด
655. 2550 กระบวนการที่เหมาะสมสำหรับการผลิตเนื้อจระเข้ตุ๋นบรรจุซองรีทอร์ทเพาซ์ ดูรายละเอียด
656. 2550 การปรับปรุงกระบวนการผลิตผักกาดเขียวปลีดองเค็มเพื่อลดปัญหาผักกาดดองนิ่มและมีสีคล้ำ ดูรายละเอียด
657. 2550 การอบแห้งลาเวนเดอร์และโรสแมรี่ด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ดูรายละเอียด
658. 2550 โครงการการใช้สนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบีบสกัดน้ำมันจากน้ำมันพืช ดูรายละเอียด
659. 2550 การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแครกเกอร์เสริมเกสรดอกไม้ ดูรายละเอียด
660. 2550 การลดต้นทุนการผลิตและการเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งในกระบวนการผลิตแคโรทีนอยด์จากน้ำมันปาล์มดิบ ดูรายละเอียด
661. 2550 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลหม่อนสุก ดูรายละเอียด
662. 2550 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ปลาส้มทอดกรอบพร้อมรับประทาน ตรา "แม่จำปา" จังหวัดลำพูน ดูรายละเอียด
663. 2550 การหาวัสดุเพื่อทดแทนการใช้ไทอามีนในการเพาะเห็ดหอม ดูรายละเอียด
664. 0 แนวทางการปรับปรุงสถานที่ผลิตให้สอดคล้องกับการรองรับมาตรฐาน Halal ดูรายละเอียด
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทร. (053) 948303 Email: resagro@outlook.com